หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements


นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
เส้นทางสู่มหาวิทยาลัย
กลไกการวิวัฒนาการ.
วิชาสัมมนา ( ) เรื่อง ผลของพ่อพันธุ์ดูร็อคและพ่อพันธุ์เพียเทรนต่อสมรรถนะการเจริญเติบโต ลักษณะซากและคุณภาพเนื้อของสุกรขุน Effect of Duroc and Pietrain-sired.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
Sampling Distribution
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
หลักวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โครโมโซม.
การออกแบบลายเสื้อตามที่ต้องการ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ ดร.ศุกรี อยู่สุข
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
(quantitative genetics)
ผลการจำกัดอาหารในลูกสุกรหย่านมก่อนกำหนด
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
โดย ABC DEFG สาขาสัตวศาสตร์
Y = a +bX 11.1 หาสมการถดถอย หาค่า b, a Y = X.
นางสาวสมาพร เอี่ยมจรูญ
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ตรวจสอบตำแหน่งที่จะเปิดสอบ
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
สถานการณ์การเคลื่อนย้ายสัตว์ เข้าในจังหวัดพิจิตร ประจำเดือน กุมภาพันธ์(วันที่ 21ม.ค.54. – 20 ก.พ.54)
และแผนการดำเนินงาน ปี 55 สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
What is the optimum stocking rate ?
ระบบการผลิต ( Production System )
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง

ยินดีต้อนรับ ผู้บริหารคณะ เกษตรศาสตร์ 7 มีนาคม 2549.
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 49/2554 เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากแหล่งกำเนิดมลพิษประเภทการเลี้ยงสุกร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 24 พฤศจิกายน 2554.
เส้นทางสู่มหาวิทยาลัย
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
การผสมเทียม   การผสมเทียม (Artificial insemination) หมายถึง การทำให้เกิดการปฏิสนธระหว่างไข่กับอสุจิ ที่มนุษย์เป็นผู้ทำให้เกิดการปฏิสนธิ โดยนำน้ำเชื้ออสุจิจากสัตว์ตัวผู้ที่เป็นพ่อพันธุ์ไปผสมกับไข่ของสัตว์ตัวเมียที่เป็นแม่พันธุ์
การผสมเทียม นางแก้วตา สุเดชมารค วิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์
Artificial Intelligence (AI)
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
แผนการคัดเลือก สามารถแบ่งได้ดังนี้ Tandem Method
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
กลุ่มที่ 2 เขต 2, 3 และ 4.
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมและแนวโน้มทางพันธุกรรมของสมรรถนะการเจริญเติบโตและผลผลิตไข่ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ) วุฒิไกร บุญคุ้ม, มนต์ชัย ดวงจินดา,
เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์
การประมาณกราฟการให้นมเนื่องจากอิทธิพลทางพันธุกรรม
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
Nipah virus.
เทคโนโลยีชีวภาพทางสัตว์ Animal biotechnology
Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
การฝึกงานสัตวศาสตร์ 3.
สถานีวิจัยทดสอบพันธ์สัตว์นครพนม 30 มิถุนายน 2557
ศูนย์ข้อมูลการปรับปรุง พันธุ์แพะ แสนศักดิ์ นาคะ วิสุทธิ์
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
การคัดเลือกและ การประมาณพันธุศาสตร์ปริมาณ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ Principle of Selection โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

หลักพื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ P = G + E Et + Ep A + D + I EBV Selection response

หลักพื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ EBV Mating Selection Natural selection Artificial selection

ประเภทของ Artificial selection Tandem Selection Independent Culling Level Selection index Calculated selection index BLUP

หลักพื้นฐานของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การคัดเลือก (selection) คือ ? “การที่เราจัดการให้สัตว์บางตัวสามารถดำรงอยู่ภายในฟาร์ม เพื่อใช้ถ่ายทอดพันธุกรรม เพื่อการผสมพันธุ์ และในขณะเดียวกัน สัตว์บางตัวจะถูกคัดทิ้งออกไป” Migration จะตรงกันข้ามกับ Selection

ผลตอบสนองการคัดเลือก Response to selection ผลตอบสนองการคัดเลือก หมายถึง “ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยในรุ่นพ่อแม่ (ก่อนการคัดเลือก) กับค่าเฉลี่ยในรุ่นลูก (ที่เกิดจากฝูงที่ผ่านการคัดเลือก)”

ผลตอบสนองการคัดเลือก Response to selection ค่าเฉลี่ยในรุ่นพ่อแม่ก่อนคัด ค่าเฉลี่ยในรุ่นพ่อแม่หลังคัด culling μ0 μ1 ค่าเฉลี่ยในรุ่นลูกหลังคัด = Selection differential μ1-μ0 = Selection response μ2-μ0 μ2

ผลตอบสนองการคัดเลือก Response to selection ชื่ออื่นๆของผลตอบสนองการคัดเลือก ความก้าวหน้าการคัดเลือก Selection response Selection progress Genetic gain

ผลตอบสนองของการคัดเลือก (1) ได้มีการประยุกต์ใช้หาค่า h2 ได้ดังนี้ ค่าอัตราพันธุกรรมที่คำนวณได้ในลักษณะเช่นนี้ มีชื่อเรียกว่า “อัตราพันธุกรรมประจักษ์” (realized heritability)

Selection response (7) เมื่อ L = ช่วงชีวิตของสัตว์เป็นปี ผลการตอบสนองการคัดเลือกที่ผ่านมาเป็นการประเมินในแต่ ละรุ่น หากผู้ทดลองต้องการทราบผลตอบสนองในแต่ละปี สามารถทำได้โดยนำสมการมาหารด้วยช่วงชีวิต (generation interval หรือ generation length) ของสัตว์แต่ละชนิด (species) (7) เมื่อ L = ช่วงชีวิตของสัตว์เป็นปี

Generation interval ชนิดสัตว์ ช่วงชีวิต (ปี) ม้า 9-13 โคเนื้อ 4-5 ช่วงชีวิตของสัตว์ หมายถึง ค่าเฉลี่ยของอายุพ่อแม่ที่สามารถให้รุ่นลูกมา ทดแทนตนเองเพื่อการผสมพันธุ์ได้ โดยแสดงดังตาราง ชนิดสัตว์ ช่วงชีวิต (ปี) ม้า 9-13 โคเนื้อ 4-5 โคนม 5-7 สุกร 1-2 แกะ 3-4 สุนัข 4-5

Example Ex. สมมุติให้น้ำหนักเมื่ออายุ 100 วันของฟาร์มหนึ่งมีค่า 85 กก. ถ้าในปีนี้ทาง ฟาร์มทำการคัดเลือกจนได้ค่าเฉลี่ยของฝูงหลังคัดเป็น 98 กก. และกำหนดให้ค่า อัตราพันธุกรรมมีค่า 30% แล้วจงคำนวณ selection differential , genetic gain และค่าเฉลี่ยในรุ่นลูก = 98-85 = 13 กก. G = = 0.30 x 13 = 3.9 กก.  ค่าเฉลี่ยในรุ่นลูกมีค่า = 85 + 3.9 = 88.9 กก.

Relaxation of selection Import new population genetic import Relaxation of selection limited generation