ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงงาน เรื่อง การมีเพศสัมพันธ์ก่อนอันสมควร
Advertisements

การศึกษารายกรณี.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
ผลงานวิจัยทางการศึกษา ด้านอาชีวศึกษา The study of any cause of students’ dropout in vocation education of Charansanitwong school of Business subject to.
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของช่างเทคนิคตามความต้องการ ของสถานประกอบการ กรณีศึกษา เขตนิคมอมตะนคร นำเสนอโดย วัชรา ธารวิทยากุล.
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
ครูโรงเรียนเมืองชลพณิชยการ จ. ชลบุรี
Eastern College of Technology (E.TECH)
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล

ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข ของ นักเรียน – นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข ของ นักเรียน – นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา ใน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านครู-อาจารย์ (การมีครูดี), ด้านครอบครัว (การมีครอบครัวอบอุ่น), ด้านชุมชน (การมีชุมชนที่สงบสุขและสนับสนุนทางการศึกษา),ด้านโรงเรียน (การมีโรงเรียนน่าอยู่และน่าเรียน), ด้านนักเรียน (การเป็นนักเรียนดี) และด้านเพื่อน (การมีเพื่อนดี)

กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข ของ นักเรียน – นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา ใน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านครู-อาจารย์ ด้านครอบครัว ด้านชุมชน ด้านโรงเรียน ด้านนักเรียน ด้านเพื่อน สถานภาพทั่วไปของนักเรียน–นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา จำแนกตาม เพศ สาขาวิชา ระดับชั้น ชั้นปี รอบการศึกษา

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร : ประชากรในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน – นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา ปีการศึกษา 2553 จำนวน 1,284 คน จำแนกเป็น สาขาการบัญชี จำนวน 284 คน สาขาการตลาด จำนวน 471 คน และ สาขาคอมพิวเตอร์ จำนวน 529 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง จากกลุ่มประชากร ได้แก่ นักเรียน – นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา ปีการศึกษา 2553 ซึ่งผู้วิจัยได้กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางการกำหนดขนาดตัวอย่างของ Yamane,Taro Statistics จากนั้นใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น โดยใช้สาขาวิชาเป็นชั้น (Stratum) จำแนกเป็น สาขาการบัญชี จำนวน 70 คน สาขาการตลาด จำนวน 116 คน และ สาขาคอมพิวเตอร์ จำนวน 130 คน จากนั้นทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling)ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 316 คน

ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาจัดทำการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้ทำวิจัยสร้างขึ้นเพื่อสอบถาม เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข ใน 6 ด้าน ได้แก่ ด้านครู-อาจารย์, ด้านครอบครัว, ด้านชุมชน,ด้านโรงเรียน, ด้านนักเรียน และด้านเพื่อน โดยแบบสอบถามฉบับนี้แบ่งเป็น 3 ตอน คือตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามที่เกี่ยวกับ สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบสอบถามประเภทเลือกตอบ จำแนกตาม เพศ สาขาวิชา ระดับชั้น ชั้นปี และ รอบการศึกษา ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของท่านต่อปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข ของ นักเรียน – นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา ใน 6 ด้าน มีลักษณะเป็นข้อคำถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิด เพื่อสอบถามถึงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข

สรุปผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นของ นักเรียน – นักศึกษา (กลุ่มตัวอย่าง) เกี่ยวกับเรื่อง “ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุข ของ นักเรียน – นักศึกษา โรงเรียนเทคนิคพณิชยการเจ้าพระยา” โดยรวมทุกด้าน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย อันดับ 1 ได้แก่ ด้านครอบครัว อันดับ 2 ได้แก่ ด้านเพื่อน อันดับ 3 ได้แก่ ด้านนักเรียน อันดับ 4 ได้แก่ ด้านโรงเรียน อันดับ 5 ได้แก่ ด้านครู-อาจารย์ และ อันดับ 6 อันดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านชุมชน

สรุปผล (ต่อ) 1. ครู-อาจารย์ เป็นบุคคลที่เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออก 2. ครู-อาจารย์ เป็นบุคคลที่เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม 3. พ่อ – แม่ สามารถให้ความรักและเอ็นดูลูก 4. พ่อ – แม่ สามารถเป็นที่ปรึกษาให้กับลูกได้ 5. ชุมชนมีความสงบสุข 6. ชุมชนมีการส่งเสริมให้เยาวชนเรียนในชั้นสูง ๆ 7. โรงเรียนมีมาตรการในการดูแลและควบคุมความประพฤติกับนักเรียนที่ไม่มีระเบียบวินัย 8. บรรยากาศในห้องเรียนมีความสะดวกสบาย 9. นักเรียนรู้หน้าที่ของตนเอง 10. นักเรียนมีความขยันหมั่นเพียร 11. มีเพื่อนที่นิสัยดี 12. มีเพื่อนที่สามารถเป็นที่ปรึกษาได้

ผลกระทบที่เกิดขึ้น จะเห็นได้ว่า ปัจจัยหรือตัวบ่งชี้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสุขทั้ง 6 ด้านนั้น ล้วนแต่เป็นผู้ใกล้ชิดกับตัวผู้เรียนด้วยทั้งสิ้นโดยเฉพาะในด้านครอบครัว (การมีครอบครัวอบอุ่น) นอกจากนี้จากผลการวิจัยยังแสดงให้เห็นว่ามีความสอดคล้องและเป็นไปตามแนวคิดในเรื่อง การศึกษาเพื่อปวงชน หรือ การจัดการศึกษาเพื่อคนทั้งมวล (Education for All) และ สังคมทั้งมวลเข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษา (All For Education) ซึ่งหมายถึง พ่อ แม่ ผู้ปกครอง คณะบุคคล องค์การภาครัฐ หน่วยงาน สถานศึกษา องค์การสาธารณ-กุศล วัด มูลนิธิ ห้องสมุด ศูนย์การเรียน ฯลฯ ที่มีอยู่ในสังคม มีส่วนในการกำหนดความต้องการ สนับสนุนปัจจัย ดำเนินการ ประสานงาน ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ทั้งในส่วนของการศึกษาในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย และยังสอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในมาตรา 8 วงเล็บ 2 การจัดการศึกษา ให้ยึดหลักให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ซึ่งก็คือหลัก "All for Education" ซึ่งเป็นแนวทางปฏิรูปของพระราชบัญญัติฉบับนี้

ข้อเสนอแนะการวิจัย 1.ควรนำผลการวิจัยที่ได้ไปใช้วางแผนในการพัฒนาการจัดการศึกษา โดยควรจัดในรูปของกลุ่ม (Cluster) เพื่อพัฒนาการศึกษาโดยในกลุ่มควรประกอบไปด้วยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ ผู้เรียน พ่อ แม่ ผู้ปกครอง สถานศึกษา ครู – อาจารย์ คณะบุคคล องค์การภาครัฐ ภาคเอกชน หน่วยงาน องค์การสาธารณ-กุศล ชุมชน วัด มูลนิธิ ห้องสมุด ศูนย์การเรียน ฯลฯ 2. ครู – อาจารย์ ควรพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องทั้งรูปแบบและพฤติกรรมการสอนของครู โดยมุ่งที่ผู้เรียนเป็นสำคัญ เพราะรูปแบบและพฤติกรรมการสอนของครู จะสะท้อนออกมาเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักเรียน คือ นักเรียนเกิดความปิติจากการได้เรียน และเกิดแรงบันดาลใจในการเรียน

สวัสดีครับ