ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา
ที่มา การอบรมป้องกันการป่วยซ้ำของโรคจิตเภท( prelapse )ปี 37 แพทย์หญิงสมรัก ชูวานิชวงศ์/นางภมริน เชาวนจินดา คู่มือโดยกรมสุขภาพจิต ร่วมกับราชวิทยาลัยจิตแพทย์
การก่อตั้งชมรม ชมรมญาติผู้ป่วยจิตเภทศรีธัญญา ปี 41 6 ธ.ค. 43เปลี่ยนชื่อเป็น ชมรมกัลยาณมิตรผู้ป่วยจิตเภทศรีธัญญา ปี55 ชมรมกัลยาณมิตร งบประมาณ
วัตถุประสงค์ ให้ความรู้เรื่องโรคจิตเภทและการดูแลรักษา ลดความรู้สึกคับข้องใจ ความรู้สึกผิด ความรู้สึกท้อแท้ หมดกำลังใจของญาติ ส่งเสริมบทบาทญาติในการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพ สามารถจัดการกับพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ลดอัตราการกำเริบของโรค
กิจกรรม พบปะพูดคุยทุกบ่ายวันพุธแรกของเดือน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ให้คำแนะนำ ให้กำลังใจกัน จัดกิจกรรมเพิ่มพูนประสบการณ์/ความรู้ เช่นฉายภาพยนตร์ บรรยายความรู้ อบรมทักษะการเป็นผู้นำกลุ่ม การให้การปรึกษา เป็นต้น จัดประชุมใหญ่ประจำปี
พัฒนาการสู่การเป็นสมาคม มีการขยายแนวคิดสู่โรงพยาบาลจิตเวชเช่นกลุ่มตะวันใหม่ ชมรมแสงสว่างแห่งดวงใจ ก่อตั้งเป็นสมาคมเพื่อผู้บกพร่องทางจิต เมื่อ 27 มี.ค. 46เป็นองค์กรที่ไม่หวังกำไร ไม่ฝักใฝ่ทางการเมือง ปัจจุบันมี 249 ชมรม ในทุกจังหวัด สมาคมมี 3 สมาคม
รูปแบบการดำเนินงาน แบ่งเป็น 3 รูปแบบ 1. ชมรมที่มีผู้ป่วยเป็นแกนนำ 2.ชมรมที่มีญาติผู้ป่วยเป็นแกนนำ 3.ชมรมที่มีพระสงฆ์เป็นแกนนำ
องค์ประกอบความสำเร็จ 3 ก กรรมการ กองทุน กิจกรรม 2 ข ข้อมูลข่าวสาร เข้าถึง 1 ค เครือข่าย
ความต้องการสนับสนุน องค์ความรู้ใหม่ๆ กิจกรรมการเยี่ยมเยียนดูแล การสนับสนุนที่ต่อเนื่อง ยาที่มีประสิทธิภาพ การเข้าถึงสิทธิ โอกาสทางสังคม
ยุทธศาสตร์ 1.จัดหาแหล่งทุนสนับสนุน 2.พัฒนาศักยภาพแกนนำ 3.ขยายเครือข่ายครอบคลุม 4.ความร่วมมือผลักดันของพันธมิตร 5.การมีส่วนร่วมของชุมชนและสังคม 6.การเผยแพร่องค์ความรู้ 7.การสื่อสารสังคม 8.มีส่วนร่วมผลักดันนโยบาย/กฎหมาย
ข้อเสนอเพิ่มเติม -จัดทำศูนย์ข้อมูลข่าวสาร ระดับประเทศ พัฒนาระบบฐานข้อมูล ข้อมูลพื้นฐานองค์กรเครือข่าย การดำเนินงาน การจดทะเบียนคนพิการ -การสื่อสารกับสังคมที่ต่อเนื่อง สื่อเชิงสัญญลักษณ์
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม โดยใช้เครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วม