บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด ๘ กรกฏาคม ๒๕๕๔
หัวข้อ เป้าหมายโครงการ บทบาทของเครือข่าย ต่อการวางแผนน้ำ (Repositioning) กิจกรรม งานพัฒนา ผลที่คาดว่าจะได้ ประเด็นความร่วมมือ ข้อเสนออื่นๆจากที่ประชุม
เป้าหมายโครงการ สร้างความมั่นคงทางน้ำต่อการพัฒนาพื้นที่ และประเทศ สร้างกระบวนการวางแผนอย่างมีส่วนร่วม สร้างพื้นฐานการวางแผนอย่างต่อเนื่อง ขั้นตอนที่ใช้ พัฒนาศักยภาพของคน พัฒนาระบบการวางแผน พัฒนาโครงการ (ตัวอย่าง) พัฒนาระบบพื้นฐานเพื่อการวางแผนในระดับต่างๆ พัฒนาแผนจัดการน้ำของระดับต่างๆ ถ่ายทอดระบบสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สิ่งที่ทำไป จุฬา โครงการระยอง มก โครงการนครปฐม และสมุทรสงคราม จุฬา โครงการระยอง มก โครงการนครปฐม และสมุทรสงคราม วลัยลักษณ์ อบต ๓ แห่ง ข้อมูลจังหวัด พัทลุง ชุมชน น่าน ลุ่มน้ำย่อย ปัว และชุมชน
ทบทวนบทบาทเครือข่าย บทบาทที่ ๑ : การสนับสนุนด้านเทคนิคต่อการวางแผนน้ำ - บริการข้อมูลที่มีการวิเคราะห์เพื่อการใช้งาน - บริการด้านเทคนิคที่พัฒนาขึ้น (ระบบข้อมูล แผนที่) - บริการความรู้ที่พัฒนาขึ้น (จากการวิเคราะห์และงานวิจัย) - ให้การฝึกอบรม/ร่วมพัฒนาเพิ่มศักยภาพ
บทบาทที่ ๒ : สนับสนุนด้านเทคนิคในการวางแผนน้ำ (ความหมายการวางแผนน้ำในที่นี้ เป็นการบูรณการการวางแผนน้ำให้ตอบสนองต่อแผนพัฒนาพื้นที่ และเพื่อความมั่นคงด้านน้ำ จากระดับต่างๆ) บทบาท kit provider, facitator, catylyst ช่วยเหลือวางกระบวนการวางแผน (พร้อมข้อมูล) (ทั้งในแง่ การให้ kit หรือ สนับสนุน หรือ เป็นที่ปรึกษา : บทบาท kit provider, facitator, catylyst) ทั้งในระดับชุมชน อบต อบจ หน่วยงาน จังหวัด
กิจกรรม ปีที่ ๑ จัดระบบสารสนเทศ และข้อมูลที่รวบรวมและวิเคราะห์แล้ว (ในระดับจังหวัด และ อบต ตัวอย่าง) - ถ่ายทอดเทคนิคและระบบสู่จนท ชุมชน และ อบต - ผลักดันให้เกิดแผนน้ำระดับชุมชน/อบต จากกระบวนการและเทคนิคที่พัฒนาขึ้น พัฒนาเทคนิคหรือระบบที่เหมาะกับพื้นที่
ปีที่ ๒ ผลักดันให้เกิดแผนน้ำในลุ่มน้ำตัวอย่าง ผลักดันให้เกิดการวางแผนร่วม หรือ โครงการตัวอย่าง(strategic issue) จากกระบวนการ ระบบ และข้อมูลที่พัฒนาขึ้น เตรียมการวิเคราะห์ข้อมูลน้ำ เพื่อการวางแผนน้ำจังหวัด (อาจจะผ่านที่ประชุมผู้เชื่ยวชาญ (local expert forum)) พัฒนาดัชนีความมั่งคงด้านน้ำ (ที่ยอมรับได้)
ปีที่ ๓ ผลักดันให้เกิดโครงการร่วม จากกระบวนการวางแผน ผลักดันให้เกิดแผนจัดการน้ำระดับจังหวัด (ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาพื้นที่ และ ดัชนีความมั่งคงด้านน้ำ) สรุปบทเรียน และพัฒนาคู่มือ ถ่ายทอดเทคนิคและระบบสู่หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การพัฒนาระบบและเทคนิค ระบบจัดการข้อมูล และแผนที่ (Data and mapping kits) ระบบการวางแผนน้ำ (Water planning kits) ระบบสารสนเทศข้อมูลเพื่อรองรับการวางแผนน้ำ (Data infrastructure)
ผลที่คาดว่าจะได้ สภาพความมั่นคงด้านน้ำในระดับต่างๆ บุคลากรหลัก (ชุมชน อบต อบจ จังหวัด) รองรับกระบวนการและระบบ (โดยผ่านกระบวนการประยุกต์ใช้ในหัวข้อน้ำที่สำคัญมา) กระบวนการและระบบการวางแผน เพื่อใช้ในการจัดทำแผนน้ำ ระบบสารสนเทศพื้นฐานที่ใช้ในการวางแผนจัดการ ข้อเสนอแนะ (กระบวนการ โครงสร้างรองรับ การพัฒนาระบบและบุคลากรอย่างต่อเนื่อง รูปแบบการพัฒนาพื้นที่ที่สอดคล้องกับทรัพยากรน้ำ อาจรวมถึงการทบทวน กม ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง)
matrix เพื่อการประเมิน gap c/b d/b process project plan knowledge Com Local Provi Country University (d/b, network, catalyst, new knowledge, virtual war room)
เป้าหมายการพัฒนา จุฬา ยกร่างดัชนีความมั่นคงด้านน้ำ (ที่โยงกับการวางแผนน้ำจังหวัด) พัฒนา water planning kit for province) ปรับปรุงระบบสารสนเทศ เพื่อการวางแผนน้ำ มก ๔ ประเด็นวิจัย (คุณภาพน้ำ ผักตบชวา พัฒนากระบวนการ) วลัยลักษณ์ (การกำหนดเกณฑ์การจัดสรรน้ำผ่านกระบวนการ) พัทลุง (การกำหนดเกณฑ์การจัดสรรน้ำผ่านกระบวนการ) มน (พัฒนา water planning kit for community)
ความมั่นคงด้านน้ำ (Water Security) และดัชนีชี้วัด 1.ความมั่นคงด้านครัวเรือน 2.ความมั่นคงด้านเศรษฐกิจ 3.ความมั่นคงในระดับเมือง 4.ความมั่นคงในระดับลุ่มน้ำ 5. ความสามารถในการต้านทานภัยพิบัติ การเข้าถึงแหล่งน้ำวัดจากสัดส่วนประชากรที่มีน้ำประปาใช้นอกเขตเทศบาล etc. ความต้านทานภัยพิบัติ น้ำท่วม น้ำแล้ง etc. ผลผลิตต่อไร่ในภาคเกษตร ประสิทธิภาพการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและพลังงาน etc. ความสามารถของการบริหารจัดการลุ่มน้ำภายใต้มลภาวะและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน etc. สัดส่วนประชากรที่มีน้ำประปาใช้ในเขตเทศบาล ความเพียงพอของปริมาณน้ำ การบริหารจัดการ etc. ที่มา: ดัดแปลงจาก AWDO, ADB (2007)
ประเด็นความร่วมมือในเครือข่ายต่อไป การสร้างเครือข่ายสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง การรักษาและพัฒนาระบบสารสนเทศ ขยายประเด็นสู่ด้านอื่น เช่น ทรัพยากรอื่น สิ่งแวดล้อม climate change adaptation, disaster mgt ฯลฯ