การวิเคราะห์ความต้องการอัตรากำลัง นักกายภาพบำบัดเชี่ยวชาญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การจัดกลุ่มโรคตามบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10
Service Plan สาขา NCD.
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
วาระการประชุม แจ้งทราบ แนวทาง 56
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กรอบแนวคิด การทำ Service Plan ระดับปฐมภูมิ จังหวัดเพชรบุรี (ระยะเริ่มต้น)
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
1. ปรับ โฉม 2. อัตรากำ ลัง 1. ปรับ โฉม 2. อัตรากำ ลัง.
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพจังหวัดปทุมธานี
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
นโยบายการขับเคลื่อนงานสาธารณสุข อำเภอเมืองยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๘
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
1.1 ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
การกำหนดกรอบอัตรากำลังสายวิชาชีพ (FTE2)
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
ความต้องการ สนับสนุน เพื่อการพัฒนาสาขา สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2557.
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี
คณะกรรมการการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภท
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
1. กระบวนการบริหารจัดการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 2. กระบวนการส่งเสริมและสนับสนุนระบบบริการด้าน การแพทย์และสาธารณสุข 3. กระบวนการส่งเสริมและพัฒนาระบบบริการด้าน.
มติคณะอนุกรรมการบริหารงานหลักประกันสุขภาพ จังหวัดปทุมธานี ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 มกราคม 2557 เรื่อง การบริหารจัดการงบ OP / PP Basic Service จากหน่วยบริหารประจำ.
จากแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สู่การพัฒนางานเภสัชกรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สัดส่วนวิชาชีพต่อสายสนับสนุน
การวิเคราะห์อัตรากำลัง สายงานพยาบาล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ความต้องการอัตรากำลัง นักกายภาพบำบัดเชี่ยวชาญ วิชาชีพกายภาพบำบัด การวิเคราะห์ความต้องการอัตรากำลัง ตามภาระงาน ( FTE2) สมใจ ลือวิเศษไพบูลย์ นักกายภาพบำบัดเชี่ยวชาญ 15 กันยายน 2557

บริการครบทั้ง 4 ด้านทั้งผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน คนพิการ และประชาชนทั่วไป ขอบเขตบริการ (Scope of Service): บริการครบทั้ง 4 ด้านทั้งผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน คนพิการ และประชาชนทั่วไป ฟื้นฟูสมรรถภาพ ส่งเสริมสุขภาพ รักษา ป้องกันโรค

Production line หน่วยนับ /ผลผลิต หมายเหตุ คำนวณตามภาระงาน ( FTE) 1.งานบริการผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน กลุ่ม Musculoskeletal condition ICD-10 code M00-M99 จำนวนคนที่ ได้รับบริการในแต่ละวัน ( visit) คนละ 45 นาทีต่อ1visit 1visitหมายถึงจำนวนผู้ป่วยที่ มารับบริการที่หน่วยบริการหรือนักกายภาพบำบัดไปให้บริการที่ward หรือที่บ้าน 1 ครั้ง Dx ตามแพทย์ระบุ 2.งานบริการผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน กลุ่มNeurological condition ICD-10 code G00-G99,H00-H99,F01-F99 ได้รับบริการในแต่ละวัน (visit) คนละ 50 นาทีต่อ1visit 3.งานบริการผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยใน กลุ่มCardiopulmonary condition ICD-10 code I00-I99,J00-J99 คนละ 40 นาทีต่อ1visit

Production line หน่วยนับ /ผลผลิต หมายเหตุ 4 .งานบริการผู้ป่วยนอก/ผู้ป่วยในกลุ่ม Miscellaneous system ICD-10 code:A00-B99, E00-E89, C00-D89, P00-P96, Q00-Q99, R00-R99, Z00-Z99 จำนวนคนที่ ได้รับบริการในแต่ละวัน (visit) ครั้งละ 30 นาทีต่อ1visit กลุ่ม Burn ,มะเร็ง, ไตวาย,DM,Psychitric etc

คำนวณตาม Service base Production line 1.บริการกายภาพบำบัดที่ศูนย์ ศสม. หน่วยนับ /ผลผลิต คำอธิบาย คำนวณตาม Service base 1.บริการกายภาพบำบัดที่ศูนย์ ศสม. PT ศูนย์ละ 1-2 คน งานรักษาในโรคไม่ซับซ้อนและงานฟื้นฟูที่บ้าน 2. บริการกายภาพบำบัดที่รพ.สต. PT 1 คน : 5 รพ.สต งานคัดกรองและตรวจประเมินกลุ่มเสี่ยง,งานรักษาในโรคไม่ซับซ้อนและงานฟื้นฟูที่บ้าน

สรุป จาก 8 item เหลือ 4 item 1. ขอปรับจำนวน Item ของProduction line จาก 8 item เหลือ 4 item 2. บริการกายภาพบำบัดปฐมภูมิ ( Service base) ศสม . PT อย่างน้อยศูนย์ละ 1 คน ภาระงานมากขึ้นจ้างได้2 คน รพสต. PT 1 คน ต่อ รพ.สต. 5 แห่ง 3. รพช.ที่คำนวณFTE ไม่ถึง2 กำหนดให้มีPT=2 คน

thank you