แผนพัฒนาระบบควบคุมโรค การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยา ปีงบประมาณ 2559 Prevent Detect Respond การพัฒนากำลังคนด้านระบาดวิทยา
เป้าหมายการพัฒนาระบบควบคุมโรค ศักยภาพทีม SRRT SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 กลุ่มโรค 5 มิติ) Situation Awareness พยากรณ์โรค IHR 2005 ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทาง เข้าออกประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ สุขภาวะชายแดน พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน
ระบบเฝ้าระวัง (38 ล้านบาท) 1. โครงการเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 ระบบ พัฒนาฐานข้อมูล Laboratory surveillance (Encephalitis, SARI, HFMD) สำรวจ: นักเรียน, migrant worker, special population, เกษตรกร พัฒนาคุณภาพระบบรายงาน 31,423,310 2. พัฒนาศักยภาพในการจัดการฐานข้อมูลโรคพิษสุนัขบ้า 1,600,000 3. จัดทำฐานข้อมูลพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี 2,000,000 4. พยากรณ์โรค ด้วยวิธี Model fitting ด้วยการคำนวณจากความเสี่ยง 2,940,420
SRRT (20 ล้านบาท) 1. โครงการพัฒนา SRRT ให้สามารถปฏิบัติงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคได้ตามมาตรฐาน 20,000,000 หลักสูตร 120 ชั่วโมง (เป้าหมาย 1/100,000 ประชากร) ประชุมเครือข่าย SRRT พัฒนาศักยภาพการสอบสวนควบคุมโรค/ภัยครบทุกโรค/ภัย พัฒนาทีม SRRT ศักยภาพสูง นิเทศ ประเมิน รับรองมาตรฐาน สรุปบทเรียน และผลงานเด่น สนับสนุน สคร.
Proposed DDC IMS Incidence Manager Operations SAT ยุทธศาสตร์ Risk Communication Logistics Case Management PoE การเงินและงบประมาณ กำลังคน เลขานุการ/ประสานงาน
EOC (64 ล้านบาท) 1. SAT 5,200,000 2. งานปฏิบัติการภาคสนาม ตอบโต้โรคและภัยสุขภาพ 19,700,000 3. Preparedness 7,700,000 4. พัฒนาคน Basic ปฏิบัติการ (ภาคสนาม-JIT, ปฏิบัติการใน EOC) Incidence commander 8,900,000 5. พัฒนาระบบงาน: ระบบวิทยุ 2,000,000 6. สนับสนุน สคร. 21,600,000
Point of Entry (20 ล้านบาท) 1. พัฒนาช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ 20,000,000 พัฒนาสมรรถนะหลักและศักยภาพเจ้าหน้าที่ 10,000,000 พัฒนาคู่มือแนวทางการปฏิบัติงาน/มาตรฐานการปฏิบัติงาน 2,000,000 ติดตามกำกับประเมิน 3,000,000 สนับสนุนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ 5,000,000
Border Health (30.6 ล้านบาท) 1. จังหวัดสุขภาพชายแดน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค (detect & respond) การพัฒนาระบบงานด้านโรคติดต่อ การพัฒนาระบบงานด้านโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน การพัฒนาระบบงานด้านอาหารปลอดภัย การพัฒนาระบบงานด้านเคมีและรังสี การพัฒนาระบบงานด้านโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล 30,644,340
Migrant worker (10 ล้านบาท) 1. พัฒนากิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ตามความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 800,000 2. พัฒนาและขยายการดำเนินงานดูแลรักษาและส่งต่อผู้ป่วยวัณโรคในประชากรข้ามชาติตามแนวชายแดน 942,200 3. ประชุมเรื่องโรคและภัยสุขภาพสำหรับสถานประกอบการที่มีแรงงานต่างด้าว 500,000 4. พัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อนในประชากรต่างด้าวพื้นที่อำเภอชายแดน ไทย-พม่า-ลาว 5. เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในกลุ่มประชากรต่างด้าว 7,040,520
EID excellence center (7.5 ล้านบาท) 1. พัฒนาสมรรถนะนักเทคนิคการแพทย์ในการปฏิบัติงานตรวจ Routine lab จากผู้ป่วยสงสัยโรคติดเชื้ออีโบลา 500,000 2. เตรียมความพร้อมบุคลากร ส.บำราศนราดูรรับโรคติดต่ออุบัติใหม่ 3. พัฒนาวิชาการสาธารณสุขเพื่อเป็นผู้เชี่ยวชาญระบาดวิทยาเฉพาะด้าน นักวิชาการสาธารณสุข หลักสูตร 1 ปี เป้าหมายปีละ 10 คน 3,500,000 1. FETP 3,000,000