ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
Advertisements

นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
กระทรวงสาธารณสุข (ร่าง)โครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานสาธารณสุขจากอดีตถึงปัจจุบัน
การจัดกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2551
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
( Healthy Public Policy ).  มีนโยบายสาธารณะในการควบคุม การบริโภคอาหาร เครื่องดื่ม ยา และผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลเสียต่อ สุขภาพ  มีนโยบายสาธารณะที่ส่งเสริมการ.
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลวิธีการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายด้านบริหาร.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
วิสัยทัศน์ อบต. หนองหญ้า “ ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาแหล่งน้ำ เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ชุมชนเข้มแข็ง แหล่งท่องเที่ยวก้าวไกล สืบสานวัฒนธรรมไทย การบริหาร โปร่งใส.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
บูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ โดย นายแพทย์ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ผังความสัมพันธ์ของพฤติกรรมเสี่ยงร่วมกับการเกิดโรค การบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ขาดการออกกำลังกาย โรคหัวใจ การสูบบุหรี่ โรคหลอดเลือดสมอง การดื่มสุรา และเครื่องดื่มมึนเมา โรคมะเร็ง โรคอุบัติใหม่และซ้ำ ไข้หวัดนก ซาร์ส วัณโรคและเอดส์ ความเครียด พฤติกรรมอนามัย ส่วนบุคคล โรคอ้วน สร้างสุขภาพ ซ่อมสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระบวนการดำเนินงาน

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 10  ยุทธศาสตร์ที่ 2  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์กระทรวง สาธารณสุข  การเสริมสร้างพฤติกรรม สุขภาพที่ดีของประชาชน นโยบายที่เกี่ยวข้องการ พัฒนางานสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ข้อที่ 7 ยุทธศาสตร์กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ  คุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการสุขภาพ  เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน  ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางธุรกิจบริการสุขภาพของเอเซียน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความเชื่อมโยง เป้าหมายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง งานสุขศึกษาในการเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของคนไทย เป้าหมายการให้บริการ ประชาชนสามารถเข้าถึงหลัก ประกันสุขภาพและได้รับบริการ สุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ประชาชนมีพฤติกรรม สุขภาพพอเพียงที่ถูกต้อง รวมทั้งมีส่วนร่วมในการ ดูแลสุขภาพที่เหมาะสม กระทรวงสาธารณสุข ประชาชนมีความรู้ที่จำเป็นและ พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องใน การดูแลสุขภาพ ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมใน การจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ สถานบริการสุขภาพและ สถานประกอบการธุรกิจ บริการสุขภาพมีคุณภาพตาม มาตรฐาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สถานบริการสุขภาพภาครัฐ มีคุณภาพตามมาตรฐาน งานสุขศึกษา กองสุขศึกษา ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และ พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ภาคีเครือข่ายมีการจัดกิจกรรม ด้านสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

การเชื่อมประสานความร่วมมือของเครือข่าย เครือข่ายส่วนกลาง ลดปัจจัยเสี่ยง สร้างปัจจัยเอื้อต่อสุขภาพ ประสานความร่วมมือ สร้างพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง ลดพฤติกรรมเสี่ยง เครือข่ายส่วนภูมิภาค ทุกคนสามารถดูแลและ จัดการสุขภาพตนเอง คนไทยสุขภาพดี องค์ความรู้ ความร่วมมือระหว่างเครือข่าย การมีส่วนร่วมของประชาชน ปัจจัยแห่งความสำเร็จ “ใช้องค์ความรู้เป็นฐาน ประสานทุกภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้ สู่พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เป้าหมายในการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ ลดรายจ่ายด้านสุขภาพ โรงพยาบาลไม่แออัด อายุเฉลี่ยคนไทยมีมากขึ้น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ 1. ส่งเสริมและพัฒนาสถานบริการสุขภาพทุกระดับให้มีคุณภาพตามมาตรฐานงานสุขศึกษา 2. สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพ 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ที่จำเป็นและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ