อ.สุเนตร มูลทา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน Safety Engineering อ.สุเนตร มูลทา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน Sunetr_m@hotmail.com ป.ทส.PT, วศ.บ IE, ป.บัณฑิต TM, วศม.Safety Eng
Course Outlines ความสำคัญของวิศวกรรมความปลอดภัย ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การสอบสวน วิเคราะห์และการรายงานอุบัติเหตุ การประเมินผลทางสถิติของอุบัติเหตุ การตรวจสอบระบบความปลอดภัย การชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยง
Course Outlines การออกแบบและวางผังโรงงานเพื่อความปลอดภัย พิษวิทยาในงานอุตสาหกรรม อันตรายจากสารเคมีและแนวป้องกัน ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร อันตรายจากไฟฟ้าแล้วแนวการป้องกัน โรคจากการประกอบอาชีพ กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย
วิธีวัดผลการเรียน คะแนนเก็บ 20 % คะแนนสอบกลางภาค 30 % คะแนนเก็บ 20 % คะแนนสอบกลางภาค 30 % คะแนนสอบปลายภาค 50 %
หนังสือประกอบการเรียน กองตรวจความปลอดภัย www.oshthai.org สำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย www2.diw.go.th/safety/index.asp www.jorpor.com
เอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการสอน และสื่อ Powerpoint
ความสำคัญของวิศวกรรมความปลอดภัย ทำไมความปลอดภัยต้องเป็นวิศวกรรม งานในหน้าที่ของวิศวกรรมความปลอดภัย งานสร้างและปรับปรุงระบบป้องกันอัคคีภัย งานตรวจสอบความปลอดภัย งานฝึกอบรมความปลอดภัย งานสืบสวนหาปัจจัยของอุบัติเหตุ Safety &Sale man
Introduction บทที่ 1
แผนผังแสดงระดับชั้นของกฎหมาย รัฐธรรมนูญ ประมวลกฎหมาย พระราช บัญญัติ พระราชกำหนด ประกาศพระบรมราชโองการ ให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติ กฤษฎีกา กฎกระทรวง เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล กฎหมายแม่บท ซึ่งมีศักดิ์สูงสุด กฎหมายที่รัฐธรรมนูญ ให้อำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ หรือฝ่ายบริหารเป็นผู้ออก กฎหมายที่ฝ่ายบริหาร เป็นผู้ออก กฎหมายที่องค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น มีอำนาจออก
ความปลอดภัยกับอุตสาหกรรม กฎหมายบังคับ( Laws and Regulation) สภาพการแข่งขันทางธุรกิจ( Business Competitions) ความอยู่รอดและเติบโตระยะยาว( long trem Suviral Grawth) จริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม( ethics and social Responsibilities)
สถิติความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุ แรงงานนอกระบบในไทยมีมากถึง 24.6 ล้านคน ร้อยละของแรงงานนอกระบบ จำแนกตามการได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ พ.ศ. 2554
สถิติความสูญเสียเนื่องจากอุบัติเหตุ ร้อยละของแรงงานนอกระบบ จำแนกตามปัญหาที่เกิดจากการทำงาน (ด้านการทำงาน ด้านสภาพแวดล้อม ด้านความไม่ปลอดภัย) พ.ศ.2554
เปรียบเทียบร้อยละของแรงงานในและนอกระบบ พ.ศ. 2549-2554
สถานการณ์ปัจจุบัน ข้อมูลจากกองทุนทดแทน กระทรวงแรงงาน สถิติ 2443-2552 อันตรายจากการทำงานของลูกจ้างลดลง ปี 2551 เฉลี่ย เกิดเกิดอุบัติเหตุทั้งปี 6.08 ต่อ 1000 คน ปี 2552 เฉลี่ย เกิดเกิดอุบัติเหตุทั้งปี 5.39 ลดลง 11.35 % -ค่ายังสูงมาก ปี 2552 เกิด 149,436 ราย จ่ายค่าทดแทน 1,569 ล.บาท อันตรายที่เกิด 3 อันดับ คือ การผลิตผลิตภันณ์โลหะ การค้า งานก่อสร้าง ตามลำดับ ประมาณ ตาย 1 คน ทุก 2 วัน โอ้โห
สถานการณ์ปัจจุบัน ข้อมูลจากกองทุนทดแทน กระทรวงแรงงาน รัฐกระตุ้นให้มีการอบรม และบังคับกฎหมาย (พรบ.คุ้มครองแรงงานปี 2541)ให้มีผลบังคับใช้มากขึ้น เมื่อ ปี 2552 ดำเนินคดี 571 คดี เปรียบเทียบปรับ 8.3 ล.บาท หากสถานประกอบกิจการใดฝ่าฝืนจะถูกดำเนินคดีตามกฎหมาย ซึ่งมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ปัจจุบัน สภาพการแข่งขันทางการค้าสูง ต้องรักษาภาพพจน์ของสถานประกอบการณ์ โรงงานแห่งหนึ่ง เมื่อเกิดเหตุ ไม่ยอมรายงาน แต่ให้ลูกจ้างเบิกประกันสังคมแทน หรือ เจ้าของจ่ายเอง ทำให้ประกันสังคมรับบทหนัก อีกอย่าง เกิดอุบัติเหตุ ถ้าเล็กน้อย หัวหน้าไม่ยอมรายงาน เพราะต้องรับผิดชอบด้วย ตามนโยบายเรื่องความปลอดภัย ในการแข่งขัน ลออุบัติเหตุให้เป็นศูนย์
THINKSAFE WORKSAFE DRIVESAFE ขอบคุณมากครับ