แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Computer Language.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
INTRODUCTION TO C LANGUAGE
Introduction to C Introduction to C.
ENG2116 การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (C programming)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างภาษาซี เบื้องต้น
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Department of Computer Business
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
องค์ประกอบของโปรแกรม
Introduction to C Programming.
รับและแสดงผลข้อมูล.
รูปแบบโครงสร้างภาษาซี
PHP LANGUAGE.
โครงสร้างภาษาซี.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ฟังก์ชั่น function.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
Lecture no. 3: Review and Exercises
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
การจำลองความคิด
บทที่ 13 Pre-processor directive & macro Kairoek choeychuen
Surachai Wachirahatthapong
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Introduction to C Language
ครูรัตติยา บุญเกิด.
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
ประวัติความเป็นมาภาษาซี
HTML, PHP.
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Overview of C Programming
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
หลักการสร้างสรรค์ชุดคำสั่ง ๓
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language

แนะนำภาษา C ภาษา C เป็นภาษาระดับสูง แต่มีขีดความสามารถพิเศษเหนือกว่าภาษาระดับสูงอื่น กล่าวคือสามารถทำงานในระดับต่ำได้เช่นเดียวกับภาษาระดับต่ำ จึงสามารถใช้เขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรืองานทั่วไป เช่น ใช้เขียนโปรแกรมที่มีการคำนวณมากๆ ทางด้านคณิตศาสตร์ หรือทางด้านธุรกิจ ภาษา C มีลักษณะเป็นภาษาโครงสร้าง(Structure programming) คือ เมื่อโปรแกรมถูกประมวลผล ประโยคคำสั่งในโปรแกรมจะถูกจัดให้มีลำดับการทำงานตามคำสั่ง เช่น คำสั่ง if-else,while หรือ do while เป็นต้น

ประวัติของภาษาซี C มีต้นกำเนิดมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ยูนิกซ์(UNIX) นำเอาภาษาเครื่องมาใช้ในการพัฒนาโปรแกรมอื่นๆ และพัฒนาเป็นระบบปฏิบัติการ(OS) และได้สร้างภาษาบี(B) ขึ้นมา เพื่อช่วยให้การเขียนโปรแกรมทำได้ง่ายขึ้น ต่อมา Dennis Ritchie จาก Bell Lab ได้นำภาษานี้มาพัฒนาต่อและใช้ชื่อว่า C เพราะเป็นภาษาต่อจาก B ในยุคนั้นจะทำงานบนยูนิกซ์เป็นส่วนมาก

ประวัติของภาษาซี ภาษา BCPL ภาษา B ภาษา C Basic Combined Programming Language บนเครื่อง PDP-7 (UNIX) พ.ศ. 2513 พ.ศ. 2515 โดย เดนนิช ริทชี่

Dennis Ritchie ผู้ให้กำเนิดภาษา C ประวัติของภาษาซี Dennis Ritchie ผู้ให้กำเนิดภาษา C

จากภาษา C สู่ C++ ภาษา C ได้มีการพัฒนาต่อโดยใช้แนวคิดโปรแกรมเชิงวัตถุ หรือ OOP(Object Oriented Programming) เกิดภาษาใหม่เรียกว่า “ซี พลัส พลัส” (C++) ภาษาซียังเป็นต้นฉบับให้กับอีกหลายๆ ภาษาในปัจจุบันเช่น Java, C# (อ่านว่าซีชาร์ป)

ภาษา C มีประโยชน์อย่างไร

ส่วนประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของเทอร์โบซี โปรแกรม editor มีหน้าที่สำหรับสร้างหรือแก้ไข source file โปรแกรม compilor มีหน้าที่แปล source file เป็น object file โปรแกรม linker มีหน้าที่ link object file ให้ได้เป็น executable file

Editor ของภาษา C

Editor ของภาษา C Main Menu Editor

ส่วนประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรม

ส่วนประกอบของโปรแกรม

กฎเกณฑ์การเขียนคำสั่ง (Rules) ใช้อักษรตัวเล็กในการเขียนโปรแกรม ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ โดยใช้ปีกกา “{ }” เป็นตัวกำหนดขอบเขต ฟังก์ชั่นแรกต้องเป็น main() เสมอ ใช้เครื่องหมาย ; (semi colon) เป็นตัวกำหนดการสิ้นสุดของคำสั่ง ใช้เครื่องหมาย , (comma) เป็นตัวคั่นตัวแปรและพารามิเตอร์ต่างๆ ใช้เครื่องหมาย /* */ เป็นการกำหนดข้อความ ที่ไม่ต้องการให้คอมไพเลอร์ปฏิบัติงาน กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ

ตัวอย่างโปรแกรม # include <stdio.h> main () { printf(“This is my first C Program.”); } เป็นโปรแกรมสั่งพิมพ์ข้อความ “This is my first C Program.”

โปรแกรมแรก ลองเปิด TC ขึ้นมาแล้วเขียนโปรแกรม ดังนี้ กด CTRL + F9 เพื่อ Run เมื่อ Run เสร็จ กด ALT + F5 เพื่อดูผลการ Run

อธิบาย Header File ฟังก์ชั่น main เริ่มทำงานเป็นที่แรก ฟังก์ชั่น printf ส่งข้อมูลไปที่หน้าจอ

โครงสร้าง (Structure) ของภาษาซี บรรทัด #include<stdio.h> ทำหน้าที่บอกคอมไพล์ของภาษา C ให้นำแฟ้ม stdio.h จากคลังชุดคำสั่งซึ่งคอมไพล์ไว้แล้วมาทำการแปลรวมกับคำสั่งต้นฉบับ บรรทัด main() แสดงถึงการนิยามฟังก์ชันชื่อ main เป็นจุดเริ่มต้นการทำงานของโปรแกรม เครื่องหมายวงเล็บปีกกา {} ทำหน้าที่บอกจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของการทำงานของฟังก์ชัน main ตามลำดับ เมื่อจบการทำงานของ main ก็ถือว่าจบการทำงานของโปรแกรม

ฟังก์ชั่นกับ Header File สำหรับภาษา C เราสามารถสร้างฟังก์ชั่นเองได้ แต่ไม่จำเป็นต้องสร้างเองเสมอไป เราสามารถยืมคนอื่นได้ (หรือจากระบบ) หากดึงจากที่อื่นจะต้อง #include ตัว Header File ของฟังก์ชั่นที่จะใช้ไว้ที่ต้นโปรแกรม เราสามารถดูได้ว่าแต่ละ Header File มีฟังก์ชั่นอะไรบ้างโดยกดปุ่ม CTRL+F1

ทดลอง Header File ส่วนการดึง Header File การเรียกใช้ Header File

แบบฝึกหัด 1. ให้แสดงชื่อและนามสกุลของนักศึกษาด้วยฟังก์ชั่น printf ตามตัวอย่างที่กำหนดให้ต่อไปนี้ 2. จากนั้นให้แสดงสาขาวิชา และคณะ ตัวอย่าง Name : Chanida Kumpeng Name : Chanida Kumpeng Major : Information Technology Faculty : Science and Technology

สรุปเนื้อหาท้ายบท