สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
Advertisements

การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ปีงบประมาณ 2555 ชี้แจงงบตามเกณฑ์ศักยภาพบริการ ปฐมภูมิ (On top payment) ปีงบประมาณ 2555.
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
เพื่อเพิ่มคุณภาพและความครอบคลุม
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กลไกการสนับสนุนการ ดำเนินงาน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำบล และ การพัฒนาระบบรับ - ส่งต่อแบบ บูรณาการ 2552.
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การจัดทำหรือการอนุมัติ แผนงานหรือโครงการ โดยไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
เงินค่าเสื่อม (A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1)
แนวทางดำเนินงานควบคุม ป้องกัน และรักษาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในระบบหลักประกัน สุขภาพถ้วนหน้า 2554 พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สปสช.เขต 7 ขอนแก่น 1 มิถุนายน.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 งบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ สำหรับผู้ป่วยจิตเวช.
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารจัดการ Asthma & COPD 1.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
เกณฑ์การจัดสรร งบค่าบริการการแพทย์แผนไทย ปี 2555
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม งบ งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE เป้าหมาย/ผลลัพธ์ที่ต้องการในการดำเนินงาน ปี 55 มี ระบบข้อมูลคนพิการ และระบบรายงานผลการให้บริการผ่านระบบ IT 7 ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และผู้ป่วย sub acute ได้รับการฟื้นฟูฯ และอุปกรณ์ฯ ที่จำเป็น เพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 6 เกิด กองทุนฟื้นฟูฯ ระดับจังหวัด อย่างน้อยเขตละ 1 จังหวัด 5 องค์กรคนพิการพัฒนาศักยภาพ ขยายกลุ่ม เครือข่ายร่วมพัฒนา ระบบบริการ 4 หน่วยบริการระดับ รพช.ขึ้นไป มีระบบ ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ 1 รพ.สต. และกองทุน อบต./เทศบาล ร่วมเป็น เครือข่าย ให้บริการฟื้นฟูฯ 2 เกิดรูปแบบ การร่วม ให้บริการฟื้นฟูขององค์กรคนพิการ ชุมชน และ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำไร 3

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE (1) กลุ่มคนพิการที่ลงทะเบียน ในระบบหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ (ท74) (2) กลุ่มผู้สูงอายุที่จำเป็นต้อง ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ (3) กลุ่มผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการ ฟื้นฟูสมรรถภาพฯ กลุ่มเป้าหมาย การบริการฟื้นฟูฯ งบ งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ (1) ในชุมชน (2) ในหน่วยบริการสาธารณสุข (OPD) (3) ในระบบบริการทางเลือก อื่นๆ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE งบสนับสนุนและส่งเสริมการ จัดบริการ (ไม่เกิน15%) ลบ. งบบริการฟื้นฟูและเครื่องช่วย ความพิการ (ไม่น้อยกว่า 85%) ลบ. งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (13.73 บาท/ประชากร) ลบ. งบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ (13.73 บาท/ประชากร) ลบ. สนับสนุนงบให้หน่วยบริการ/องค์กรคนพิการ กองทุนฟื้นฟูฯ จว. ตามแนวทางกำหนด  พัฒนาระบบหน่วยบริการตามความพร้อม  พัฒนาศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแล  พัฒนาระบบบริการในชุมชนร่วมกับ อปท.  พัฒนากำลังคนด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ  พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ พัฒนาองค์ความรู้ สนับสนุนงบให้หน่วยบริการ/กองทุน ฟื้นฟูฯ จว. ตามแนวทางที่กำหนด  ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ  ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย sub acute (บริการผู้ป่วย OPD และในชุมชน)  ค่าฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องช่วย ความพิการ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 1. ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยสำหรับความพิการ - เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการ สำหรับการเข้า รับบริการแบบ ผู้ป่วยนอก ของหน่วยบริการและในชุมชน ตามรายการ ที่ จ่ายจริงแต่ไม่เกินราคากลาง ที่สปสช. กำหนด หรือรายการอื่นที่จำเป็น เพิ่มเติมภายใต้ความเห็นชอบของ อปสข. 2. ค่าบริการฟื้นฟูฯ คนพิการ และผู้ที่จำเป็นต้องฟื้นฟูสมรรถภาพ - เป็นค่าใช้จ่ายให้กับหน่วยบริการ สำหรับบริการ แบบผู้ป่วยนอกและ บริการในชุมชน ภายใต้วงเงินที่ได้รับจัดสรร (กรณีการฟื้นฟูผู้ป่วยใน ของหน่วยบริการ ให้เบิกจ่ายจากงบ IP ระดับเขต) 3. ค่าฝึกใช้อุปกรณ์/บริการ O&M หรืออุปกรณ์อื่นๆ - กรณีบริการ O&M เป้าหมายศูนย์ใหม่ 20 ศูนย์ งบบริหาร 1 แสนบาทและงบ ฝึกทักษะ O&M 9,000 บาท/ราย เป้าหมายศูนย์ละ 160 ราย แนวทางการดำเนินงานภายใต้งบอุปกรณ์และบริการฟื้นฟูฯ กำหนดการจัดสรรให้หน่วยบริการเป็นรายไตรมาส หรือ 6 เดือน

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 1. พัฒนาระบบบริการของหน่วยบริการตามความพร้อม - สนับสนุนหน่วยบริการระดับชุมชนพัฒนาระบบงาน/ นวัตกรรมงานฟื้นฟูรูปแบบใหม่ร่วมกับ รพ.สต. และท้องถิ่น ตามแนวทางที่กำหนด 2. พัฒนาศักยภาพองค์กรคนพิการ/ผู้ดูแลคนพิการ - สนับสนุนองค์กรคนพิการระดับจังหวัด 77 จว.และระดับประเทศทั้ง 6 ประเภท ความพิการ พัฒนาศักยภาพองค์กร/ศักยภาพการดูแลกันเอง ตามแนวทางที่กำหนด 3. พัฒนาระบบบริการ CBR ร่วมกับกองทุนสุขภาพตำบล - จัดกระบวนการเสริมแนวคิด CBR บูรณาการงานกับกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น เขตละ 1-2 พื้นที่ 4. พัฒนากำลังคนด้านงานฟื้นฟูฯ หรือพัฒนาศักยภาพบุคลากรอื่นที่จำเป็น - ตามเป้าหมาย/แนวทางงานปฐมภูมิ (นักกายภาพบำบัดปีละ 150 คน) - พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการฝึกทักษะ O&M 120 คน 5. พัฒนาบริการรูปแบบใหม่ พัฒนาองค์ความรู้งานฟื้นฟูฯเชิงบูรณาการ - พัฒนาหน่วยร่วมบริการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรคน พิการเข้าร่วมบริการ เช่น ศุนย์การดำรงชีวิตอิสระฯ, การฟื้นฟูการมองเห็น การพัฒนาบุคคลออทิสติก ในพื้นที่นำร่องเขตละ 1-2 จังหวัด 6 แนวทาง/เป้าหมายการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการฟื้นฟูฯ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE 7 เพื่อให้คนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องฟื้นฟูฯ (Sub-acute) เข้าถึง หรือได้รับบริการอย่างทั่วถึงและครอบคลุม 1 เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุน ให้มี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดของ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพในรอบปี 5 เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบการบริการฟื้นฟูให้ตอบสนองต่อความ จำเป็นของผู้ที่จำเป็นต้องฟื้นฟูในท้องถิ่นชุมชนได้มากขึ้น 2 เพื่อสนับสนุนการพัฒนารูปแบบการดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนและฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ ผู้สูงอายุ ผู้ที่จำเป็นต้องฟื้นฟูฯ ในระดับชุมชนและ ในครอบครัวเชื่อมโยงกับหน่วยบริการ 3 เพื่อพัฒนาศักยภาพและความเข้มแข็งขององค์กรคนพิการ และองค์กร ผู้สูงอายุ และองค์กรอื่นๆ 4 กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ระดับจังหวัด วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE แนวทางการบริหารจัดการ กองทุนฟื้นฟูระดับฯ จังหวัด สปสช. อบจ. ประกาศ คณะกก.กองทุนฟื้นฟูระดับฯ จังหวัด นายก อบจ. ประธาน เป็นที่ปรึกษา/ ติดตามกำกับ สปสช.สาขาจังหวัด สปสช.เขต เป็นรองประธาน/ ผู้ช่วยเลขาฯ หน่วยบริการ องค์กรผู้พิการ / ผู้สูงอายุ ชุมชน/ครอบครัว พิจารณาสนับสนุนกิจกรรม/โครงการ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพฯ สนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องช่วยฯ พัฒนารูปแบบการดูแล ผู้สูงอายุ/ผู้พิการ/ผู้ป่วย sub acute ในชุมชน/ครอบครัว ผู้พิการ/ผู้สูงอายุ/ผู้ป่วย sub acute ที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟู 8