แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ
2. งบสนับสนุนและ ส่งเสริมการจัดบริการ 0.35 บาท / ปชก. สิทธิ UC 1.3 ล้านบาท 1. งบค่าบริการ เพิ่มเติม 6.85 บาท / ปชก. สิทธิ UC 32 ล้านบาท งบค่าบริการแพทย์ แผนไทย 7.20 บาท / ปชก. สิทธิ UC 33.3 ล้านบาท งบค่าบริการแพทย์ แผนไทย 7.20 บาท / ปชก. สิทธิ UC 33.3 ล้านบาท จัดสรรแบบ Global เขต - ในหน่วย บริการ - ในชุมชน
1. งบค่าบริการ เพิ่มเติม ส่วนที่ 1 จ่ายตามความพร้อมด้านศักยภาพใน การจัดบริการเวชกรรมไทยใน หน่วยบริการประจำหรือหน่วยบริการปฐมภูมิที่ จัดโดยหน่วยบริการประจำ 3 เกณฑ์ส่วนกลาง 1) มีแพทย์แผนไทยปฏิบัติงานประจำ 2) มีการจัดตั้งคลินิกเวชกรรมไทย ณ หน่วย บริการประจำ 3) มีแผนดำเนินงานสนับสนุนหน่วยบริการ ปฐมภูมิในพื้นที่ 4) มีการกระจายยาไปยังรพ. สต. อย่างน้อย 5 รายการ เกณฑ์การจ่าย - หน่วยบริการประจำได้รับจัดสรรจำนวนไม่เกิน 100,000 บาท / แห่ง ในวงเงิน 5 ล้านบาท
1. งบค่าบริการ เพิ่มเติม ( ต่อ ) 4 ส่วนที่ 2 จ่ายตามผลงานบริการในหน่วยบริการและใน ชุมชน 1) การนวด ประคบ อบสมุนไพร เพื่อการรักษาและ / ฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทย เกณฑ์การจ่าย 1.1 คิดเป็น point (1) การให้บริการในหน่วยบริการ - นวด ครั้งละ 1.0 คะแนน - ประคบครั้งละ 0.8 คะแนน - อบไอน้ำสมุนไพรครั้งละ 0.2 คะแนน ผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมอง, ผู้ป่วย (2) การให้บริการในชุมชน กรณีในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมอง, ผู้ป่วย โรคเรื้อรัง, ผู้พิการ, โรคเรื้อรัง, ผู้พิการ, อัมพฤกษ์ / อัมพาต และผู้สูงอายุ - นวด ครั้งละ 1.5 คะแนน - ประคบครั้งละ 1.2 คะแนน
1. งบค่าบริการ เพิ่มเติม ( ต่อ ) กำหนดค่า K K = (0.8 x A) + (0.2 x B) A คือ จำนวนผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์ แผนไทย / สาขาการแพทย์ ที่ปฏิบัติงานประจำในงานบริการ แพทย์แผนไทยเท่านั้น แผนไทยประยุกต์ ที่ปฏิบัติงานประจำในงานบริการ แพทย์แผนไทยเท่านั้น B คือ จำนวนผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่จบหลักสูตร อย่างน้อย 330 ชั่วโมงขึ้นไป ที่ปฏิบัติงาน ประจำในงานบริการแพทย์แผนไทยเท่านั้น จากสถาบันที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ วิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยและผู้ที่จบ หลักสูตรแพทย์แผนไทย / แพทย์แผนไทยประยุกต์ ที่ยังไม่ได้ใบประกอบโรคศิลปะ ฯ ที่ปฏิบัติงาน ประจำในงานบริการแพทย์แผนไทยเท่านั้น หลักการคำนวณค่า K นำค่า K คูณผลรวม Point + ผลรวม Point ตั้ง ต้น = Point ที่นำไปคิดเงิน
1. งบค่าบริการ เพิ่มเติม ( ต่อ ) 6 2) การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด ให้เป็นไปตาม CPG ที่กำหนด และจัดสรรวงเงินแบบปลายปิด ในวงเงิน 5 ล้านบาท 3) การใช้ยา สมุนไพร 3.1 จัดสรรให้ทุกหน่วยบริการ แบ่งการจ่าย เป็นรายไตรมาส ร้อยละ 90 พิจารณาจาก - ปริมาณการใช้ยาจากสมุนไพรใน ED โดย ที่มีการสั่งใช้ยา 1 รายการ คิดเป็น 1 คะแนน คะแนนเพิ่ม หากสัดส่วนมูลค่าการใช้ยาจากสมุนไพร ED ใน OPD ต่อมูลค่าการใช้ยาแผนปัจจุบันใน OPD ตามเงื่อนไข รพศ./ รพท. 1%, รพช. 2% และรพ. สต. 3% จะได้คะแนนเพิ่มโดยเอาคะแนนรวม ข้อ 3.1 คูณ 2
1. งบค่าบริการ เพิ่มเติม ( ต่อ ) จัดสรรให้เฉพาะหน่วยบริการประจำ แบ่ง การจ่ายเป็นรายไตรมาส ร้อยละ 10 พิจารณาจากจำนวนการใช้ยาจาก สมุนไพรใน ED 71 รายการ ทดแทนยาแผน ปัจจุบัน ตามกลุ่มอาการของโรค แนวทางการจัดสรร 1. การนวด ประคบ อบสมุนไพร และการใช้ยา สมุนไพร แบ่งเป็น 2 รอบ รอบ 1 prepaid จัดสรรให้ตามผลงาน บริการปีงบประมาณ 2554 รอบ 2 postpaid จัดสรรตามผลงานบริการ ปีงบประมาณ การฟื้นฟูสุขภาพแม่หลังคลอด แบ่งการจ่าย เป็นรายไตรมาส โดยแบ่ง 4 ไตรมาสเท่ากัน จัดสรรครั้งละ 200 บาท ต่อการให้บริการ 1 ชุดบริการ ( ครบ 5 กิจกรรม ใน 1 วัน ) ไม่เกิน 5 ครั้ง กรณีหากเงินเหลือจะจัดสรร เพิ่มเติมในปลายปี
8 1. สนับสนุนการดำเนินงานของสปสช. สาขาจังหวัด จำนวน 50,000 บาท 2. จัดทำโครงการร่วมกันโดยมอบให้แต่ละจังหวัดเป็นเจ้าภาพ ประกอบด้วย 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ 2.1 โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานในการบันทึกข้อมูล ผ่านระบบ OP/PP Individual record ผู้รับผิดชอบ จังหวัดนครพนม 2.2 โครงการพัฒนาศักยภาพแพทย์แผน ไทยในการจัดการความรู้ด้าน การแพทย์แผนไทย ผู้รับผิดชอบ จังหวัดสกลนคร 2.3 โครงการอบรมหลักสูตรผู้ช่วยแพทย์ แผนไทย ผู้รับผิดชอบ จังหวัดเลย
9 2.4 โครงการอบรมหลักสูตรผู้สั่งการรักษาทาง การแพทย์แผนไทยสำหรับ เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย (60 ชั่วโมง ) ผู้รับผิดชอบ จังหวัดหนองคาย 2.5 โครงการพัฒนาศักยภาพทีม Auditor ใน การตรวจสอบผลงานบริการ ผู้รับผิดชอบ จังหวัดหนองบัวลำภู 2.6 โครงการกระจายวัตถุดิบสมุนไพรจัดทำยา ปรุงสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย ให้กับแพทย์แผนไทย ผู้รับผิดชอบ จังหวัดอุดรธานี 2. งบสนับสนุนและส่งเสริมการ จัดบริการ ( ต่อ )
10 ประเด็นเสนอแนะ 1. การ cleansing ข้อมูล โดยให้จังหวัดรวบรวมผลงานบริการส่งสปสช. เขต และไม่ให้มีกรณีอุทธรณ์ ( ควรมีระบบ / เครื่องมือที่ใช้ช่วยคลีน ) 2. สปสช. ส่วนกลาง Update ข้อมูลส่งให้สปสช. เขตปีละครั้ง และส่งให้จังหวัด ตรวจสอบด้วย 3. จัดตั้งทีม Auditor ในการติดตามและตรวจสอบผลงานบริการ ประกอบด้วย สปสช. ส่วนกลาง / เขต และผู้แทนจังหวัด ( ไขว้ ) กรณีตรวจสอบผลงานบริการ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น การบันทึกข้อมูลผู้ให้บริการไม่สอดคล้อง กับค่า K ควรกำหนดมาตรการดำเนินการเรียกเงินคืนย้อนหลัง
11 1. วิทยากรของสปสช. ส่วนกลาง / เขต สามารถเข้าร่วมทุกโครงการได้หรือไม่ 2. ควรมีการกระจายความรู้แบบครู ก, ครู ข หรือไม่ ( การบันทึกข้อมูล ผ่านระบบ OP/PP Individual record) 3. หากให้จังหวัดเป็นเจ้าภาพควรมีการโอนเงินมาครั้งเดียว (50,000 บาท + เงินโครงการ ) และระบุชัดเจนว่าเป็นงบสนับสนุนของแพทย์แผนไทย ข้อสังเก ต