Pediatrics Occupational Therapy

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
Advertisements

หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
ลีลาการเรียนรู้ Learning Style.
ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2546 โดยใช้แบบประเมินตนเอง(SDQ)
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ชีวิตครอบครัว นายธวัชชัย สาบัว ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
โรงเรียนอนุบาลหมู่บ้านเด็ก สานรัก
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
โรคสมาธิสั้น.
สรุปผลรวมของการเรียนรู้
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
เรารู้ว่า ความสุขหนึ่งในชิวิตคือ “การทำงาน”
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ในทัณฑสถานหญิงจังหวัดเชียงใหม่
การสื่อสารเพื่อการบริการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมนันทนาการ.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
เทคนิคการสอนวิทยาศาสตร์
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
คัชชาตา เจริญวงค์ นักจิตวิทยาคลินิก ศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 กรมสุขภาพจิต
การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทยวันนี้
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
สถานการณ์และการดำเนินงานดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
การส่งเสริมพัฒนาการทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
เป็นการสร้างช่องทางการ สื่อสารด้วยแผ่นภาพที่อาศัย รูปภาพใบหน้าในลักษณะ ต่างๆ พร้อมตัวหนังสือตัว โตๆที่มีสีสันสะดุดตา ทำให้ ผู้อ่านเข้าใจง่ายเมื่อพบเห็น.
IFSP แผนการให้บริการช่วยเหลือเฉพาะครอบครัว
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคล Individualized Education Program (IEP)
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางกิจกรรมบำบัด ในผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม
แนวทางในการจัดกิจกรรมเสริมสร้าง
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รพ.หาดใหญ่
ตกลง บริการ ประเมิน ปัญหา หา แนวทาง แก้ไข ติดตาม ประเมินผล Self Assessmemt ---> ประเมิน ความรู้, พฤติกรรมสุขภาพ ----> ก้างปลาปัญหา ----> Recall อาหาร 24.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
การพัฒนาคุณธรรมในศตวรรษที่ ๒๑
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
เรื่อง การปฏิบัติตนในวัยรุ่น
ประถม เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ด้วยสื่อ นวัตกรรมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อดึงความสามารถทางการเรียนแต่ละด้าน ตามแนวทางพหุปัญญา โดยกระบวนการ Balanced.
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน. ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น.
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.
คลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ
ประชาชนรู้สึกอย่างไรต่อ บริการปฐมภูมิ. หญิงวัย ทอง ลูกค้าส่วนใหญ่หน่วยบริการ ปฐมภูมิ
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Pediatrics Occupational Therapy คลินิกกุมารเวชกรรม ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสาตร์ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร เสนอโดย นายมัธยันห์ แสนใจบาญ นักกิจกรรมบำบัด

ลักษณะการให้บริการ ตรวจประเมิน และบำบัดรักษาการบูรณาการประสาทรับความรู้สึก (Sensory Integration) ตรวจประเมิน และบำบัดรักษาพัฒนาการทางด้านทักษะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross motor skill) ทักษะกล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine motor skill) พัฒนาการด้านภาษา และการสื่อสาร (language and communicational skill) พัฒนาการด้านอารมณ์ (Emotional) ทักษะทางสังคม (Social skill) และพฤติกรรม (Behavior) โดยใช้แบบประเมินมาตรฐาน (Standardized test) การสังเกตการณ์ทางคลินิก (Clinical observation) และข้อมูลองค์ประกอบพื้นฐานที่เกี่ยวข้องทางกิจกรรมบำบัด (Occupational performance profile) โดยนักกิจกรรมบำบัดจะให้การดูแลอย่างใกล้ชิด มีการออกแบบแผนการรักษาเฉพาะบุคคล (Individual program) รวมทั้งให้คำปรึกษา และคำแนะนำต่างๆเกี่ยวกับปัญหาพัฒนาการให้แก่ผู้ปกครอง ผู้ดูแล ญาติ ครู รวมทั้งการประสานงานร่วมกับบุคลากรหลากหลาย สหวิชาชีพ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง

รูปแบบการให้บริการ การให้แบบเดี่ยว (Individual Program) การให้บริการแต่ละครั้งใช้ระยะเวลาการบำบัดรักษา 1 ชั่วโมง แบ่งเป็น 2 ช่วง โดย ช่วงที่ 1 ระยะเวลา 45 นาที เป็นรูปแบบการบำบัดรักษาทางกิจกรรมบำบัด และ Sensory Integration program ช่วงที่ 2 ระยะเวลา 15 นาที เป็นรูปแบบการฝึกทักษะด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine motor skill) และการเขียน (Handwriting skill) และการรายงานการบำบัดรักษา การให้คำปรึกษา และคำแนะนำต่างๆ (Consulting) ให้แก่ผู้ปกครอง

สถิติประเภทของผู้รับบริการทางกิจกกรมบำบัด ประจำเดือน เม.ย. จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด 41 คน

อายุเฉลี่ยของผู้รับบริการ

Sensory Integration

Sensory integration การบูรณาการประสาทรับความรู้สึก (Sensory integration) มักรู้จักกันในชื่อ sensory processing เป็นความสามารถของสมองในการแปลผล จัดระเบียบ และตอบสนองข้อมูลการรับความรู้สึกที่ได้รับ เพื่อตอบสนองอย่างเหมาะสมเป็น Functional behavior ผู้ที่ค้นพบคือ Dr.Jean Ayres นักกิจกรรมบำบัด และจิตวิทยาการศึกษา ซึ่งได้ใช้ คำว่า Adaptive response อธิบายกระบวนการที่เด็กสามารถคิดและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ (Organize) ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้อย่างเหมาะสม (goal-direct action on the environment) ระบบการรับความรู้สึก มาจากการรับความรู้สึกพื้นฐาน คือ smell, touch, taste, vision/visual perception, hearing/auditory processing, movement/balance และ kinesthesia/muscle tone ผลของการตอบสนองเป็น Adaptive response ส่งผลต่อ Sensorimotor foundation เป็นการบูรณาการ การเคลื่อนไหว(movement) และการรับความรู้สึก (Sensory input) สำหรับ high-order function ส่งผลต่อความมั่นใจในตนเอง (self-esteem) การควบคุมตนเอง (Self-control) ความเชื่อมั่นในตนเอง (self-confidence) และการเรียนรู้พื้นฐานทางวิชาการ (academic learning) ความสามารถในการจดจ่อ (concentrate) การคิดการจัดการ (Organize) ความสามารถในการเข้าใจความคิดเชิงนามธรรม (abstract thought) และการใช้เหตุผล

เมื่อเด็กมีความบกพร่องของการบูรณาการประสาทรับความรู้สึก (Sensory processing disorder) จะมีความยุ่งยากต่อการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และการเรียนรู้ กลายเป็นอุปสรรค และการความล่าช้าเกิดขึ้นได้

Pyramid of learning (williams&Shellenberger,1-4) Cognition intellect Academic Learning ADL Behavior Auditory Language skills Visual- Spatial perception Attention Center function Perceptual motor Occular Motor control Eye-hand coordination Postural adjustment Sensory motor Body Schem Reflex maturity Ability to Screen input Postural security Awareness of Two sides of body Motor planning Sensory system Olfactory visual Auditory Gustatory Tactile Vestibular Proprioception CENTRAL NERVOUS SYSTEM

ตัวอย่างผู้รับบริการทางกิจกรรมบำบัด ชื่อ : น้อง ด.เด็ก อายุ ณ ปัจจุบัน : 4 ปี 3 เดือน วัน-เดือน-ปีเกิด : 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 Diagnosis : ASD รับบริการทางกิจกรรมบำบัด : Attention/concentration, Pre-speech and behavior modification วันที่เริ่มรับบริการตั้งแต่วันที่ : 11 ก.พ. – 23 เม.ย. พ.ศ.2557 ความถี่ในการรับบริการ : 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ข้อมูลเบื้องต้น (Background information) Medical Developmental background : อายุ 2 ปี พามาตรวจเพราะไม่สบาย แพทย์พบพูดช้า อายุ 2 ปี 3 เดือน เริ่มพูดตามได้ เป็น 2-3 ประโยค, มีภาษาของตัวเอง, ไม่ทำตามสั่ง, มารดาให้ดูโทรทัศน์เป็นส่วนใหญ่ OT recommends : น้องเป็นเด็กชายน่ารัก รูปร่างสมส่วน ตอนยังเล็กไม่คลาน ลุกยืน เดิน และวิ่งได้เลย ปัจจุบันชอบเล่นของเล่นที่มีสีสัน รถที่มีล้อหมุน ไม่ค่อยสบตา (Poor eye-contact) สนใจสิ่งเร้า รอบตัวอยู่ตลอดเวลา (Distraction)ซน อยู่ไม่นิ่ง (Hyperactive and fidget) การปรับตัวช้า (Transition) ร้องไห้ กรีดร้อง วิ่งหนี หลบเลี่ยง ไม่ชอบทำตามคำสั่ง อารมณ์ไม่ยืดหยุ่น ไม่มั่นคง (emotional un-stability/flexibility) พูดสื่อสารบอกความต้องการได้ทั้งชี้บอก พูดเป็นประโยคสั้นๆแต่ยังพูดสลับคำ มาเข้ารับการกระตุ้น และ ส่งเสริมพัฒนาการที่ งานกิจกรรมบำบัดคลินิกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร เนื่องด้วยผู้ปกครองต้องการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสมาธิ (Attention) พฤติกรรมที่พึงประสงค์ (Behavior and stereotype) อารมณ์ (Emotional) และทักษะทางสังคม (Social skill)

ตัวอย่างผู้รับบริการทางกิจกรรมบำบัด Evaluation of Sensory integration/sensory processing Sensory over-responsive of tactile processing, auditory processing and visual processing Sensory under-responsive of proprioceptive processing related to Seeking movement (hyperactive & fidget) Sensory under-responsive of vestibular processing related to low muscle tone/low endurance, disorganize OT Problem area 1. Tactile processing related to Transition Emotional stability and flexibility Tactile comfort 2. Auditory processing related to Auditory memory Auditory discrimination

ตัวอย่างผู้รับบริการทางกิจกรรมบำบัด OT Problem area 3. Proprioceptive processing related to BMC and crossing the midline Grading movement Motor planning 4. Vestibular processing related to Muscle tone/endurance Postural control/balance Organizing skill All of sensory processing problem area effected to Attention span Self-regulation/self-control Self-esteem Language and communicational skill Social skill Fine motor and basic handwriting skill

ตัวอย่างผู้รับบริการทางกิจกรรมบำบัด Treatment program Sensory integration approach (sensory diet, self-regulation program and HP) Teaching-learning process approach Visual cues Behavioral modification Progression Improvement of sensory processing problem area (Tactile, visual, auditory, proprioceptive and vestibular processing) – ปรับตัวได้เร็วขึ้น สบตามากขึ้น, อารมณ์ยืดหยุ่นมากขึ้น แต่ยังไม่มั่นคง ทั้งนี้น้องยังล้าง่าย จาก low endurance ซึ่งส่งผลต่อ organizing skill and self control พฤติกรรมกรีดร้อง หลบเลี่ยง ร้องไห้ลดลง พฤติกรรมยึดติดลดลง ยอมรับเงื่อนไข กฎ กติกาในการเล่นได้มากขึ้น ทั้งนี้พฤติกรรมย้ำคิดย้ำทำจะเพิ่มมากขึ้นเมื่อ low endurance ทักษะการสื่อสาร และทักษะทางสังคมพัฒนาขึ้น เห็นได้จากน้องเริ่มรอคอยได้ รู้จักแบ่งปันของ แต่ยังไม่รู้จักการผลัดเปลี่ยนกัน พูดบอกความต้องการเป็นคำติดต่อกัน 4-5 คำได้มากขึ้น แสดงท่าทาทักทาย เล่นสมมุติเป็นเรื่องราวมากขึ้น ทั้งนี้ปัจจัยแวดล้อมที่บ้าน และโรงเรียนเป็นตัวแปรสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพของน้อง