สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
Advertisements

ส่งการบ้านในระบบ E-laering
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การใช้เทคโนโลยีสื่อผสม การเรียนการสอน
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
เศรษฐกิจพอเพียง.
เศรษฐกิจพอเพียง M2A จัดทำโดย 1.ด.ช.สาโรจน์ อินทรไชย เลขที่ 16
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
การศึกษาแบบพี่สอนน้อง (Teen as Teachers)
การนำ หลักการ เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้แก้ไขปัญหาการเมืองไทย
ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
การพัฒนานวัตกรรมแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
History มหาจุฬาฯ.
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
ทำวัตรเย็น.
ทำวัตรเช้า.
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
ขอต้อนรับทุก ท่าน WELCOME ! No 1. การบรรยายความรู้ มุมมองใหม่ กับการทำงานส่งเสริมเคหกิจ เกษตร วันพุธที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ระหว่างเวลา ๑๕. ๐๐ – ๑๖. ๐๐ น.
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
๓. ด้านการจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน.
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ครูธีระพล เข่งวา นักประวัติศาสตร์ หมายถึง ข้อใด ก. ผู้ที่สามารถเรียน ประวัติศาสตร์ได้ดี ข. อาจารย์ผู้สอน ประวัติศาสตร์ได้ดี ค. ผู้ที่มีประสบการณ์ทาง.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอน….ครูธีระพล เข่งวา
อิมินา สักกาเรนะ ตังพุทธัง อะภิปุชะยามิ
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ สอนโดย...ครูธีระพล เข่งวา
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระ ราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ เป็นต้นมา.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102 ผู้สอนครู ธีระพล เข่งวา
ครูธีระพล เข่งวา 1 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง พระธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ครูผู้สอน …… นายธี ระพล เข่งวา โรงเรียนวัง.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : วิกฤตการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
ครูธีระพล เข่งวา 1 สอนโดย … ครูธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เรื่อง มงคล ๓๘ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวังไกลกังวล
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑
ขอเชิญสวดมนต์ถวายพระพร แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
ครูธีระพล เข่งวา 1 ครูผู้สอน …… นายธีระ พล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูธีระพล เข่งวา.
9 คำถามหลังเรียน.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
วิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เศรษฐกิจพอเพียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 1 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ครูผู้สอน นายธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกลกังวล ครูธีระพล เข่งวา

สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา 2 เรื่อง สัมมนาพระพุทธศาสนากับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง นำข้อสรุป ทางเลือกและทางออกของ เรื่องที่สัมมนาไปเป็นแนวทางในการ แก้ปัญหาและพัฒนาตนเองครอบครัว และสังคมได้

อะระหังสัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา 4 อะระหังสัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า, เป็น พระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลส เพลิงทุกข์สิ้นเชิง,ตรัสรู้ชอบ ได้โดยพระองค์เอง

พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ 5 พุทธัง ภะคะวันตัง อภิวาเทมิ ข้าพเจ้าขออภิวาท พระผู้มี พระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบ)

สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม 6 สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้ มีพระภาคเจ้า, ตรัสไว้ดีแล้ว ธัมมัง นะมัสสามิ ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม (กราบ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 7 สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มี พระภาคเจ้า, ปฏิบัติดีแล้ว สังฆัง นะมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ ๓ ครั้ง)

สัมมนา การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้/ความคิดเห็น เพื่อหาข้อ 8 สัมมนา การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้/ความคิดเห็น เพื่อหาข้อ สรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

สัมมนาทางพระพุทธศาสนา 9 การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้และความคิดเห็น เพื่อ หาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใช้หลักการ วิธีการ หรือ กระบวนการทางพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 10 พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สำคัญ ๕ ประการ

๒. ความสมดุลและความยั่งยืน ๓. ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล 11 ๑. ทางสายกลาง ๒. ความสมดุลและความยั่งยืน ๓. ความพอประมาณอย่างมีเหตุผล ๔. ภูมิคุ้มกันและรู้เท่าทันโลก ๕. การเสริมสร้างคุณภาพคน

เศรษฐกิจพอเพียงมีแนวคิด/ ปฏิบัติอยู่บนหลักพุทธธรรมทั้งสิ้น ... 12 เศรษฐกิจพอเพียงมีแนวคิด/ ปฏิบัติอยู่บนหลักพุทธธรรมทั้งสิ้น ...

๑. การพึ่งตนเอง ๒. เดินสายกลาง “ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน “มัชฌิมาปฏิปทา 13 ๑. การพึ่งตนเอง “ตนแลเป็นที่พึ่งแห่งตน ๒. เดินสายกลาง “มัชฌิมาปฏิปทา

๓. มิได้ปฏิเสธความมั่งคั่ง 14 ๓. มิได้ปฏิเสธความมั่งคั่ง หากความมั่งคั่งได้มาจากการไม่ เบียดเบียน ๔. สอนเรื่องสันโดษ “ยินดีในสิ่งที่ตนหาได้

15 ๕. สอนให้คนแข่งขันกัน “แต่แข่งขันในการทำ ความดี

ในพระพุทธศาสนามีหลักธรรม ซึ่งสอดคล้องกับเศรษฐกิจ 16 ในพระพุทธศาสนามีหลักธรรม ซึ่งสอดคล้องกับเศรษฐกิจ พอเพียงเป็นอย่างยิ่งดังนี้

17 ๑. สันโดษ ๑.๑ ยถาลาภสันโดษ ความยินดีตามที่ได้มา โดยชอบธรรม

18 ๑. สันโดษ ๑.๒ ยถาพลสันโดษ ความยินดีกำลังที่ ตนมีอยู่

๑.๓ ยถาสารุปปสันโดษ ๑. สันโดษ ความยินดีตามสมควร 19 ๑. สันโดษ ๑.๓ ยถาสารุปปสันโดษ ความยินดีตามสมควร แก่ภาวะความเป็นอยู่ ของตน

20 ๒. ความมักน้อย อัปปิจฉตา ............................... ................................ ความต้องการน้อยหรือความมักน้อย

ผู้มีความอดทน ย่อมเป็นที่ชอบใจของผู้อื่น 32 มนาโป โหติ ขนฺติโก ผู้มีความอดทน ย่อมเป็นที่ชอบใจของผู้อื่น

33 พบกันใหม่ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ ขอขอบคุณฝ่ายผลิตรายการทุกท่าน