ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ที่เราต้องเจ็บปวดกับความรักนะ
Advertisements

พุทธวิธีการปฏิบัติธรรม
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
3. เป้าหมายสูงสุด คือ นิพพาน
การลดความวิตกกังวล.
กำจัดศัตรูภายในด้วยสมาธิ
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ชีวิตคืออะไร ? ชีวิตตามสภาพของมันเอง ขันธ์ 5 เป็นส่วนประกอบของชีวิต
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
40 ข้อที่ไม่ควรลืม.
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
รักทางพุทธศาสนา.
กิจกรรม คุณติดเกมมากแค่ไหน
บุญ.
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
ขณะจิตที่ 1 อตีตภวังค์ คือ ภวังคจิตดวงแรกที่กระทบกับอารมณ์ 
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
การพัฒนาจิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน.
วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
มลพิษทางกลิ่น โชคชัย บุตรครุธ.
อารมณ์ (Emotion) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
การใช้ปัญญา.
การใช้สมอง #1 อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร.
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
กระบวนการอริยสัจ 4 เพื่อการแก้ไขปัญหา
แนวคิดและทฤษฎีทางจริยธรรม
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
เจาคันธีสถูป อนุสรณ์แสดงว่า พระพุทธองค์ได้เสด็จจากพุทธคยา
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
กุ ศ ล กรรมบถ อกุศล กรรมบถ
สุขภาพใจ เรื่องใกล้ตัว
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ถุงมันฝรั่ง.
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
กรรมคืออะไร ?, มีจริงหรือไม่ ?
วิชาธรรมศึกษา จัดทำโดย พระ บุญมี อนามโย วัดคลองมะนาว.
Download ใน หรือ
ธรรมวิภาค.
สมุทัย ธรรมที่ควรละ.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
การรู้สัจธรรมของชีวิต
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
รสวรรณคดี คุณครูมลิวัลย์ สินธุบุญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
บุคลิกภาพบุคลากรการทะเบียน ที่พึงประสงค์ ในการให้บริการประชาชน
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
เรื่อง ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา ผู้สอน ครูศศิเพ็ญ วิมุกตานนท์
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
รสในวรรณคดี พิโรธวาทัง.
อริยสัจ 4.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
การปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
ครูธีระพล เข่งวา 1 นายธีระพล เข่งวา ครูธีระพล เข่งวา.
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
อริยสัจ 4 ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ เป็นรากฐานของคำสอนทั้งมวล ที่ทำให้ผู้เข้าถึง กลายเป็น อริยบุคคล มีดังต่อไปนี้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทุกข์ - ธรรมที่ควรรู้ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ความเศร้าโศกเสียใจ หรือสภาพที่มนุษย์ทนอยู่ได้อยาก เป็นสภาวะทางธรรมชาติที่ควรกำหนดรู้ หัวข้อธรรมที่สนับสนุนในการศึกษา ได้แก่

1. ขันธ์ 5 ขันธ์ 5 คือ องค์ ประกอบของมนุษย์ ได้แก่ ⇒ 1. รูป (ร่างกาย) ⇒ 2. เวทนา (ความรู้สึก ⇒ สุข ทุกข์ อุเบกขา) ⇒ 3. สัญญา (ความจำ) ⇒ 4. สังขาร (สิ่งที่ปรุงแต่งจิต) ⇒ 5. วิญญาณ (ความรู้แจ้ง หรือการรับรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5และจิตใจ ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง กายสัมผัส และใจ รวมเรียกว่า วิญญาณ 6 หรือ อายตนะ 6)

2. จิต-เจตสิก 2.1 จิต ความหมาย 2.1 จิต ความหมาย จิต เป็นส่วนหนึ่งของวิญญาณขันธ์ บางที่เรียกว่า จิตใจ หมายถึง อารมณ์ สภาพความนึกคิดของมนุษย์ หน้าที่ของจิต คือ การรับรู้โดยผ่านประสาทสัมผัส(วิญาณ 6) การจำและ การคิดเรื่องราวต่างๆ เป็นต้น ในพระอภิธรรมปิฎก นับสภาพแห่งจิตทั้งหลายมีจำนวน 89 เรียกว่า จิต 89 ได้แก่ กามาวาจรจิต 54 รูปปาวจิต 15 อรูปาวจรจิต 12 และ โลกุตตรจิต 8

2.2 เจตสิก เจตสิก หมายถึง ธรรมชาติที่ประกอบกับจิต หรือ อาการและคุณสมบุติต่าง ของจิต หรือสภวะทางธรรมชาติที่เกิดดับพร้อมกับจิต ได้แก่ ความรู้สึกรัก ชอบ โกรธ เกลียด สุข และทุกข์ เป็นต้น มีทั้งหมด 52 ดวง แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1. อัญญสมานาเจตสิก 13 ดวง เข้าได้ทั้งจิตที่เป็นกุศลและอกุศล เช่น ผัสสะ (ความกระทบอารมณ์) เวทนา (ความเสวยอารมณ์) มนสิการ (การกระทำ อารมณ์ไว้ใน ใจ) วิริยะ (ความเพียร) ฉันทะ ( ความพอใจในอารมณ์) เหล่านี้ ถ้าเกิดดีก็เป็นกุศลจิต คือ อาจจะมีความเพียรในการทำความดี หรืออาจมี ความเพียรในการทำชั่วก็ได้ 2. อกุศลเจตสิก 14 ดวง เป็นเจตสิกฝ่ายชั่ว เช่น โมหะ โทสะ ฯลฯ 3. โสภณเจตสิก 25 ดวง เป็น เจตสิกฝ่ายดี เช่น หิริ-โอตัปปะ เมตตา กรุณา ฯลฯ

ความสำคัญของจิต เจตสิก เป็นตัวการทำให้มนุษย์เกิด ความทุกข์ หรือ ความสุข มนุษย์จึงควรควบคุมหรือบริหารจิตของตนให้ดี ไม่ควรยึดติดสิ่งใด มากเกินไปจนทำให้เกิดอารมณ์แห่งความทุกข์