จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
การจัดทำแผนบริหารจัดการชุมชน
การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
แจ้งผลการพิจารณาให้ มท./ สศช. / สงป. - พิจารณาอนุมัติโครงการ
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชน
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การดำเนินงานหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบบูรณาการ สู่
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
SPATIAL PLANING : SGA-PEI รศ. ดร
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
บูรณาการเพื่อบ้านเรา ( พช.) วันพุธที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๔ ณ WAR ROOM กรมการ พัฒนาชุมชน อาคาร บี ศูนย์ราชการเฉลิมพระ เกียรติฯ แจ้งวัฒนะ.
การขับเคลื่อนวาระแห่งชาติด้าน การสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์ วันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมทองธารินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC ABC : Area-Based Collaborative Research (การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้วยการวิจัย) สำนักงานจังหวัดนราธิวาส

โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC ABC = Area - Based Collaborative Research (การวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่) ความเป็นมา ภารกิจของ มท. คือ การบำบัดทุกข์ บำรุงสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การแก้ไขปัญหาความยากจน จึงเกิดเป็นความร่วมมือระหว่างกระทรวงมหาดไทย โดยสำนักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และการสนับสนุนทางด้าน วิชาการจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

แนวคิด ABC : การวิจัยเชิงพื้นที่ การทำงานที่เน้นพื้นที่เป็นตัวตั้ง

โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC เป้าหมายที่ต้องการ ระดับครัวเรือน คือ การปลดหนี้ ระดับหมู่บ้าน คือ แผนชุมชนมีคุณภาพ มีกลไกภายในชุมชนที่ประสานการทำงานด้วยกัน ระดับตำบล คือ การมีฐานข้อมูล (ครัวเรือน) ที่มีคุณภาพใช้ในการวางแผนพัฒนาตำบลได้ ระดับจังหวัด/อำเภอ คือ มีกลไกเชื่อมประสานการทำงานระหว่างส่วนราชการต่าง ๆ ที่มีพื้นที่เป็นตัวตั้ง และมีการระดมทรัพยากรในการบูรณาการร่วมกัน ระดับกระทรวง คือ การบูรณาการทำงานตามตัวชี้วัดร่วมกัน

โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC กระบวนการดำเนินงานที่สำคัญ 1.กระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เข้าใจความหมายของข้อมูลบัญชีรับ-จ่าย อันจะนำไปสู่การคิดหาทางออกร่วมกัน เกิดเป็นแผนชุมชน 2.กระบวนการจัดการความสัมพันธ์ การสร้างความสัมพันธ์แนวราบระหว่างภาคส่วนต่างๆ ทั้งฝ่ายชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ วิชาการเพื่อเสริมพลังกัน

กระบวนการขับเคลื่อนงาน ABC ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ทีมงานทุกระดับ กลุ่มประชาชน เป้าหมาย การบูรณาการ งบประมาณ การสร้างความเข้าใจ กระบวนการจัดเก็บ ข้อมูล (บัญชีรับจ่าย) การวิเคราะห์ข้อมูล การกำหนดทิศทาง (แผนชีวิต/แผนชุมชน) ความเป็นหนึ่งเดียวของทีมงานและสำคัญคือ “ประชาชน” มีทิศทางชัดเจน แก้ปัญหาตรงประเด็น ชุมชนเข้มแข็ง ชุมชนพึ่งตนเองได้ คุณภาพชีวิตดีขึ้น

ขบวนการขับเคลื่อนงาน ABC สังเคราะห์/สรุปบทเรียน บันทึกข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูล แก้ปัญหาด้วยแผนชีวิต/แผนชุมชน ปฏิบัติการฯภายใต้ความร่วมมือ สร้างความรู้ความเข้าใจทีมงานพื้นที่ ครัวเรือนเป้าหมายจัดเก็บข้อมูล สนับสนุนกระบวนการตามภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คัดเลือกครัวเรือนเป้าหมาย (๑๕ – ๒๐ %) แต่งตั้งทีมงานระดับ จ./อ. สร้างความรู้ความเข้าใจ อำเภอคัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย อำเภอแต่งตั้งทีมปฏิบัติการระดับ ต./ม.

เครื่องมือการทำงานที่สำคัญ บัญชีครัวเรือนและแผนชุมชน

ค้นหาทางเลือกในการแก้ปัญหา Function-based agencies คน- การเรียนรู้(สหกรณ์/พช./พอช./กศน./สาธารณสุข ฯลฯ) แผนชุมชน -ทำเอง -ทำร่วม -ทำให้ เวทีวิเคราะห์ข้อมูล ทรัยพากร-น้ำ ที่ดิน(ชลประทาน/กรมที่ดิน ฯลฯ) จัดทำบัญชีครัวเรือน/ข้อมูล คร. การผลิต-เทคโนโลยี(เกษตร /อุตสาหกรรม ฯลฯ) การเรียนรู้เข้าใจปัญหาของตนเอง ทุน-เงินทุน(ธกส./กทบ./ ฯลฯ) ตลาด ผู้บริโภค-ช่องทางการขาย(พาณิชย์/ธุรกิจเอกชน ฯลฯ) โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC(Area Based Collaborative Research)

โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC ผลลัพธ์ในภาพรวม การบูรณาการทรัพยากรในจังหวัด (Supply) เพื่อตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของประชาชน (Demand) ระยะเวลาดำเนินการ ๒ ปี (2555-2557)

โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจำปีของส่วนราชการ/จังหวัด/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC การขับเคลื่อนโครงการ 1.ทุกจังหวัดจัดทำโครงการฯ โดยพิจารณาคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายอำเภอละ 1 ตำบลเป็นอย่างน้อย 2.จัดทีมบูรณาการระดับจังหวัดจากทุกภาคส่วน โดยมีรอง ผวจ. 1 คน ที่ ผวจ.มอบหมายให้รับผิดชอบ 3.จัดทีมบูรณาการระดับตำบล/หมู่บ้าน โดยให้มีสัดส่วนภาคประชาชนมากกว่าภาครัฐ

โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC การขับเคลื่อนโครงการ 4.จัดแบ่งบทบาทหน้าที่แก่หน่วยงานให้ชัดเจน - นายอำเภอ - ท้องถิ่นจังหวัด/อปท. - พัฒนาชุมชน 5.การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นประจำทุกเดือน/ระดับหมู่บ้าน/ตำบล/จังหวัด 6.การจัดทำแผนชุมชนและการเชื่อมโยงงบประมาณ

พื้นที่ปฏิบัติการร่วม สร้างการเรียนรู้ของภาคประชาชน ปกครอง สร้างความเข้าใจ ติดตามการบูรณาการงบเพื่อสนับสนุนแผนชุมชน พัฒนาชุมชน กระตุ้นการทำบัญชี จัดเวทีเรียนรู้ หนุนการจัดทำแผนชุมชน ท้องถิ่น บันทึกข้อมูล ร่วมเวทีเรียนรู้ สนับสนุนงบตามแผนชุมชน ผู้ว่าราชการจังหวัด และทีมงานจังหวัด เชื่อมโยงและบูรณาการ

กระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ กระบวนการแก้ปัญหาหนี้สินของเกษตรกร “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” กระบวนการสร้างครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง กระบวนการเปลี่ยนแปลงในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการสร้างประชาธิปไตยฐานราก กระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ การสร้างกลไกการพัฒนาจังหวัดแบบมีส่วนร่วม เพื่อรองรับการสร้างธรรมาภิบาลจังหวัด กระบวนการบูรณาการทรัพยากรในจังหวัดเพื่อแก้ปัญหาร่วมกัน