วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแต่งกลอน.
Advertisements

๑ ชุดที่๒ ต่อไป.
๑ ชุดที่๓ ต่อไป.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
บทเรียนโปรแกรม Power Point
แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์. แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รวบรวมขึ้นไว้
จากรูปภาพ นักเรียนคิดว่าเป็นการแต่งกายของชนชาติใด??
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คำราชาศัพท์ จัดทำโดย นางสาวสมพร อ่อนละออ.
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
การสั่งจองหนังสือรวมคำบรรยาย ภาคสอง สมัย ๖๖
ยินดีต้อนรับสู่กิจกรรม
พระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ๓๖ ข้อ
พระบรมมหาราชวัง Grand Palace.
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
ภาษาไทย เพื่อการเรียนการสอน.
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
บทร้อยกรอง.
ตัวเลขไทย.
การยิงสลุตหลวง.....โดยกอง รปภ.ฐท.กท.
ข้อบังคับทหาร ว่าด้วยการเคารพ ตอน ๑ ว่าด้วยการเคารพบนรถ
ระบบสืบค้นหนังสือห้องสมุดคลังความรู้
โรงเรียนบางบ่อวิทยาคม
ศาสนา.
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
แผนที่.. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
รายละเอียด แผ่น CD Folder 1 KM เอกสารชุดความรู้ สตน. ๒๕๕๓ รวม ๑๓ บท และ เอกสารอ้างอิง ( ๓๐๙ หน้า ) Folder 2 KM ชุดนำเสนอ ( Power Point.
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน ๑๑ ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ ๗.
ครั้งที่ ๑ เกาะหมาก ให้กับประเทศ อังกฤษ.
๙.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ เกย
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
ยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ผลการดำเนินงาน การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
นิทานเวตาล น.ม.ส. เข้าสู่บทเรียน.
วรรณคดีสำคัญสมัยอยุธยาตอนปลาย
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
รวบรวมข้อมูลมาจาก วิกิพีเดีย
โดย ศาสตราจารย์ ท่านผู้หญิงพูนทรัพย์ นพวงษ์ ณ อยุธยา
ค่าวคืออะไร       “ค่าว” หมายถึงคำประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเกี่ยวกันไปแบบร่ายและจบลงด้วยโคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ  มีหลายชนิดคือ เรื่องที่ปรากฏในเทศนาธรรม.
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
โครงเรื่อง.
ประวัติสุนทรภู่ ตระกูล วัยเยาว์ ออกบวช (ช่วงตกยาก) วิกิพีเดีย.
สุนทรภู่ 2. รูปภาพ 3. ภาพวาดลายเส้น 4. กลอน
ประเภทของวรรณกรรม.
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
แผนผังมหกรรมอ้อมใหญ่วิชาการ
ทัศนะศึกษา วัดอรุณราชวราราม.
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
สถานที่ที่สำคัญในอยุธยา
ประชุมผู้บริหาร สพป. ตาก เขต ๒ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ ห้องประชุม โรงเรียนแม่สอด.
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
ราชาศัพท์.
ความหมายของการวิเคราะห์ วรรณกรรม
๑๑. คุณพิจิตราฤทธิ์ ประภา ๑๒. คุณพดาลิมปสายชล ๑๓. คุณศิริชัยพุทธศิริ ๑๔. คุณอัครวุฒิศุภ อักษร ๑๕. คุณจันทิราโกมล ๑๖. คุณพนารัตน์ตัณฑ์ ไพบูลย์ ๑๗. คุณสมพรน้อยฉ่ำ.
ครุฑ ชนิดขาตั้งเฉียง ครุฑ ชนิดขาแบน.
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มงานทันต สาธารณสุข และหน่วยบริการ แผนการปฏิบัติงาน หน่วยแพทย์ พอ.สว. ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ แผนการรับบริจาค โลหิต.
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
การนำเสนอสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การแต่งกายยืนเครื่องตัวนาง ประกอบการเรียนการสอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
คำ นำ บรรณานุกร ม หน้า ๑๑ บรรณานุกร ม หน้า ๑๑ สมเด็จพระบรม ไตโลกนาถ หน้า ๑ สมเด็จพระบรม ไตโลกนาถ หน้า ๑ สมเด็จพระ รามาธิบดีที่ ๒ หน้า ๓ สมเด็จพระ รามาธิบดีที่
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง

๑.กาพย์มหาชาติ (พัฒนาจากมหาชาติคำหลวง)                - ประพันธ์โดย พระเจ้าทรงธรรม                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทร่าย                  เพื่อสวดให้ประชาชนฟัง               

๒.พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา (ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ) - ประพันธ์โดย พระโหราธิบดี                - ใช้คำประพันธ์ร้อยแก้ว                เพื่อบันทึกเหตุการณ์สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น  ตามพระราชโองการของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช               

๓.จินดามณี เล่มที่ ๑ (แบบเรียนภาษาไทยฉบับแรก) - ประพันธ์โดย พระโหราธิบดี                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรอง ประเภทต่างๆ เช่น ฉันท์ ร่าย เป็นต้น                เพื่อเป็นตำราเรียนฉันทลักษณ์               

๔.สมุทรโฆษคำฉันท์ (ตอนต้นและตอนกลาง) - ประพันธ์โดยพระมหาราชครู  สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส                - ใช้คำประพันธ์ร้อยกรอง  ประเภทคำฉันท์ (มีกาพย์ด้วย)    เพื่อใช้เล่นหนังใหญ่               

๕.โคลงสุภาษิต ๓ เรื่อง คือ โคลงท้าวทศรถสอนพระราม  โคลงพาลีสอนน้องและโคลงราชสวัสดิ์ ๖๓ โคลง                - พระนิพนธ์ในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภท โคลงสี่สุภาพ  โคลงทศรถสอนพระราม เพื่อสั่งสอนกษัตริย์ผู้ปกครองประเทศ โคลงพาลีสอนน้อง เพื่อสั่งสอนข้าราชการ โคลงราชสวัสดิ์ เพื่อสั่งสอนข้าราชการในรายละเอียดกว่าเรื่องพาลีสอนน้อง                       

๖.เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา                - พระนิพนธ์ใน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกลอนเพลงยาว                เพื่อทำนายอนาคตของกรุงศรีอยุธยา               

๗.โคลงกวีโบราณ จำนวน ๒๕ บท (ต้นฉบับสูญหาย)                - กวีต่างๆ ในสมัยสมเด็พระนารายณ์ เช่น พระเทวี  พระเจ้าล้านช้าง พระเยาวราช                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรอง มีโคลงประเภทต่างๆ เช่น โคลงกระทู้ ชนิดต่างๆ                เพื่อแสดงฝีปากการแต่งโคลงโบราณ               

๘.เสือโคคำฉันท์                - ประพันธ์โดยพระมหาราชครู                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทฉันท์                เพื่อทดลองใช้ฉันท์แต่งเรื่องนิทาน               

๙.โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราช                - ประพันธ์โดย พระศรีมโหสถ                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ               เพื่อยอพระเกียรติพระนารายณ์มหาราช               

๑๐.กาพย์ห่อโคลงพระศรีมโหสถ                - ประพันธ์โดย พระศรีมโหสถ                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทกาพย์ห่อโคลง  เพื่อบันทึกความเป็นอยู่ของชาวกรุงศรีอยุธยา  ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

๑๑.โคลงนิราศนครสวรรค์                - ประพันธ์โดย พระศรีมโหสถ                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทร่ายสุภาพ ๑ บท และโคลงสี่สุภาพ ๖๙ บท   เพื่อบันทึกการเดินทาง               

๑๒.โคลงอักษรสามหมู่                - ประพันธ์โดย พระศรีมโหสถ                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพที่เป็นกลโคลง มีชื่อว่า ตรีพิธประดับ (ตรีเพชรประดับ)   เพื่อแสดงแบบการแต่งกลโคลง               

๑๓.คำฉันท์ดุษฏีสังเวยกล่อมช้าง                - ประพันธ์โดย ขุนเทพกระวี                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทคำฉันท์                เพื่อกล่อมช้างเผือกที่ได้มาในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช              

  ๑๔.โคลงกำสรวลศรีปราชญ์               - แต่งโดย ศรีปราชญ์                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรอง ประเภทโคลงสี่สุภาพ  เพื่อแสดงปฏิภาณของผู้แต่ง

๑๕.อนิรุทธ์คำฉันท์ - ประพันธ์โดย ศรีปราชญ์ - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทฉันท์ เพื่อแต่งนิทานที่มีที่มาจากคัมภีร์วิษณุปุราณะ

๑๖.โคลงนิราศหริภุญชัย - ไม่ปรากฏหลักฐานผู้แต่ง                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ (เดิมเป็นโคลงลาวก่อน)   เพื่อบันทึกการเดินทาง

๑๗.โคลงดั้นทวาทศมาส                - ประพันธ์โดย พระเยาวราช และขุนนาง ๓ คน                - ใช้คำประพันธ์ ร้อยกรองประเภทโคลงดั้นวิวิธมาลี  มีร่ายสุภาพท้าย ๑ บท

โดย นายศิรวัชร จรัสโชค เลขที่ ๒ นายนพกร วงศ์หนองเตย เลขที่ ๓ นายศิรวัชร จรัสโชค เลขที่ ๒ นายนพกร วงศ์หนองเตย เลขที่ ๓ นายปิยวิช ตันบุรินทร์ทิพย์ เลขที่ ๗ นายธฤต วิประกษิต เลขที่ ๑๓ นายวริศ ศรีทรัพย์ เลขที่ ๓๑ นายนพวงศ์ อานุภาพเสถียร เลขที่ ๓๗ นายกันต์ชญานิน ตันปิชาติ เลขที่ ๓๘