โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สื่อการสอนโครงงานอาชีพ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จัดทำโดย ม
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
Risk Management JVKK.
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ความคลาดเคลื่อนในการให้ยา
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
การกำหนดมาตรฐานอื่นๆ เรื่องโครงสร้างกายภาพ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
ดูแลดุจญาติมิตร พร้อมดวงจิตบริการ
เครื่องมือพัฒนาคุณภาพ
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
HA 2011 overall scoring และการนำไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพรพ.
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
Mae Sai Hospital.
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
G Garbage.
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
การส่งเสริมวินัยการกินยาต้านไวรัสเอดส์
การพัฒนาคุณภาพบริการ การดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์
การพัฒนาคุณภาพด้านการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ( CQI Story)
การพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
เข็มมุ่ง บุคลากรทุกคนทุกระดับในกลุ่มการพยาบาลใช้หลัก Standard precautions (การปฏิบัติขั้นพื้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อ)ในการปฏิบัติงาน ผู้ป่วยที่สามารถแพร่กระจายเชื้อหรือมีความไวต่อการรับเชื้อได้รับการดูแลตามหลัก.
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
1. การ ดำเนินงานตามกฎระเบียบ การประกันสังคม 2. ความสามารถ ในการดำเนินการ เรียกเก็บเงินได้ตามกำหนด 3. ความรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วนใน การให้บริการ 4. การมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย.
2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอ 3. แนวทางการเฝ้าระวัง ภาวะแทรกซ้อนจากการบริจาค 1. การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต 4. ความพร้อมในการช่วยเหลือ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. แนวทางการรับคำสั่งการใช้ รถ การประกันระยะเวลาการ รับส่งผู้ป่วย 4. ความรู้ความสามารถของ พขร. ในเรื่องการช่วยฟื้นคืนชีพ การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย กฎจราจร.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
1. การเตรียมผู้ป่วยก่อนทำการ ตรวจทางรังสีวิทยา 2. การเฝ้าระวังในผู้ป่วยที่อาจ เกิดเหตุฉุกเฉินขณะรอตรวจ 3. ความเหมาะสมของการส่ง ตรวจทางรังสีวิทยา 4. การควบคุมคุณภาพของการ.
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
งานจ่ายกลาง โรงพยาบาลบ้านเขว้า
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
1. การประเมิน / จำแนกผู้ป่วย เพื่อรับการรักษา 2. การทำงานร่วมกับสหวิชาชีพ 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง เช่นผู้ป่วยหลอดเลือด สมอง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
6. การทำงานเป็นทีมระหว่างสาขา วิชาชีพ 1. การคัดกรองจำแนกประเภทผู้ป่วย ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่อาจถูกคัดกรอง ผิดพลาด 2. การระบุตัวผู้ป่วยในกรณีต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วย.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก CQI เรื่อง โครงการลดภาวะแผลฝีเย็บแยก

สภาพปัญหา ปี 2552 คิดเป็น 0.43% จำนวน 1 ราย ปี 2552 คิดเป็น 0.43% จำนวน 1 ราย ปี 2553 คิดเป็น 2.14% จำนวน 6 ราย ปี 2554 คิดเป็น 2.89%(ต.ค.2553- พ.ค.2554) จำนวน 4 ราย จากสถานะการณ์ที่ผ่านมามีปัญหาเรื่องแผลแยกเราปรับปรุงขบวนการปฏิบัติ ในการทำกับผู้คลอดโดยได้มีการแยก setคลอด กับset sutureแยกจากกัน มีการ Flush ทำความสะอาดและเปลี่ยนผ้ายางรองด้วยทุกครั้งแต่ยังพบปัญหามีแผลแยกอยู่ ปีงบประมาณ 2554 (ต.ค.2553-2554)คิดเป็น2.89%(4 ราย)ยังเป็นอัตราส่วนค่อนข้างมากเป้าหมาย ลดอัตราแผลฝีเย็บแยก ไม่เกิน 1%

สาเหตุของการเกิด 1. การใช้หลัก Aseptic technique ยังไม่ถูกต้อง 2

แนวทางการแก้ไข 1. ทบทวนหลักAseptic techniqe 1

2.ทบทวนเทคนิคการทำเย็บแผลให้ถูกต้องแก่เจ้าหน้าที่ห้องคลอดในหน่วยงาน

3. ตรวจดูสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานความ 3 3.ตรวจดูสิ่งแวดล้อมในหน่วยงานความ 3.1ดูแลเรื่องสะอาดทั่วไปเช่น โต๊ะ เตียงหลังคลอดทำให้สะอาดเป็นมาตรฐานเดียวกัน 3.2ระบุการใช้น้ำยาระบุวันหมดอายุเช่นNSSเปิดแล้ว ใช้ใน24ชม. 3.3 จัดแยกขยะให้ถูกต้อง ขยะติดเชื้อให้เปลี่ยนทุกครั้งหลังคลอดเสร็จ 3.4 เปิดระบายอากาศห้องคลอดให้รับอากาศที่ดี

4.ตรวจดูบาดแผลฝีเย็บ ทำความสะอาดทุกวัน และมีการประเมินติดตามการดูแลแผล

5.ปรับปรุงการเฝ้าระวังให้มากขึ้น 5.1ระบบสื่อสาร ส่งต่อระหว่างเวร 5.2บันทึกความผิดถ้าพบแผลฝีเย็บแยกรายงานแพทย์เพื่อให้ Antibiotic 5.3ในรายแผลที่มีความเสี่ยงแผลใหญ่ ลึก และช้ำมาก รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ Antibiotic 5.4นำ Case แผลแยก มา conferene ทุกรายเพื่อแก้ไข 5.5 มีแบบเฝ้าระวังส่ง ICN เก็บข้อมูล 5.6 ติดตามแผนการจำหน่ายโดยควบคุมการเยี่ยมหลังคลอด โทรติดตาม,นัดดูแผล,คำแนะนำเมื่อเกิดแผลฝีเย็บแยก

6.ส่งเจ้าหน้าที่ใหม่ไปฝึกปฏิบัติงานที่รพ.ที่มีศักยภาพสูงกว่า 7.เจ้าหน้าที่ตระหนักถึงคำจำกัดความของแผลติดเชื้อในโรงพยาบาล และแผลแยกจากการเย็บไม่ถูกวิธีแยกจากกันจะได้แก้ปัญหาได้ถูกต้อง

ผลลัพธ์ ปีงบประมาณ2554(ต.ค.2553-พ.ค2554)ช่วงระยะเวลา 8 เดือนมีผู้ป่วยติดเชื้อแผลฝีเย็บ 4 ราย คิดเป็น2.89%

กิจกรรมคู่ขนาน 1.ติดตามดูเทคนิคการเย็บแผล เจ้าหน้าที่ใหม่โดยหัวหน้างาน 2.เมื่อพบปัญหาในการให้บริการ แก้ปัญหาทันทีเช่น การล้างมือให้ถูกต้อง การใช้น้ำยาไม่เหมะสมการใช้หลักAseptic techniqueไม่ถูกต้อง 3.เก็บข้อมูลคนที่เกิดแผลฝีเย็บแยกไหมหลุดและผู้ทำการเย็บแผลปํญหาที่พบแก้ไขเป็นรายบุคคลโดยหัวหน้างาน

การพัฒนาต่อเนื่อง 1.พัฒนาระบบการเฝ้าระวังแผลฝีเย็บ ที่คลอดใน โรงพยาบาลทุกรายและติดตามเมื่อจำหน่าย 2.ปัญหาแผลแยกไหมหลุดมีการพัฒนาโดยพี่สอนน้อง