การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
Advertisements

การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แผนภูมิโครงสร้างส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
ระบบเครือข่ายห้องปฏิบัติการแห่งชาติ
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 7 อุบลราชธานี
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
แนวทางการดำเนินงานควบคุม โรคไข้เลือดออก /โรคคอตีบ
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
รายงานการเฝ้าระวังโรคช่วงสถานการณ์อุทกภัย จังหวัดนครปฐม 21 พฤศจิกายน 2554 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน มีนาคม มีนาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม กรกฎาคม 2552 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
ไข้หวัดใหญ่ 2009 โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ เคราะห์.
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์รายงานสถานการณ์
ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
นายแพทย์ชนินันท์ สนธิไชย 22 กันยายน 2553
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังทาง ระบาดวิทยา 1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ การเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่

ความเป็นมา จากการเฝ้าระวังฯ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ของไทย ส่วน ใหญ่อาการไม่รุนแรง รายที่เสียชีวิตมักเป็นกลุ่มเสี่ยง ปรับระบบ ให้เก็บตัวอย่างส่งตรวจเฉพาะ ผู้ป่วยปอดอักเสบรุนแรงถึง เสียชีวิต และสงสัยดื้อยาต้านไวรัส เพิ่มระบบการเฝ้าระวังไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 เฉพาะ พื้นที่ ใน รพ. 13 จุด ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29 (19 ก.ค. 2552) สวส. กรมวิทย์ฯ มีระบบการเฝ้าระวังเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ ตั้งแต่ปี 2548 ในสถานพยาบาล 10 แห่ง 8 จังหวัด กรรมการด้านยุทธศาสตร์ไข้หวัดใหญ่ฯ กสธ. & การประเมินของ WHO expert team เห็นตรงกันว่า Influenza sentinel surv. มี ความจำเป็นต่อการประเมินสถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ในภาพรวม ของประเทศ และควรบูรณาการ ให้เป็นของ กสธ.

Number of H1N1 PDM reports by onset and diagnosis Changing in testing policy Schools outbreak In BKK and periphery Onset

1st Sentinel surveillance กรมควบคุมโรค ในพื้นที่ 13 โรงพยาบาล ตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 29/2552 – 6/2553 (19 ก.ค. 2552 – 13 ก.พ. 2553)

จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ เขต จังหวัด โรงพยาบาล 1 พระนครศรีอยุธยา 2 ลพบุรี 3 ฉะเชิงเทรา 4 สมุทรสาคร 5 นครราชสีมา มหาราชนครราชสีมา 6 อุดรธานี 7 อำนาจเจริญ อุบลราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ 8 นครสวรรค์ สวรรค์ประชารักษ์ 9 พิษณุโลก พุทธชินราช 10 เชียงใหม่ นครพิงค์ 11 นครศรีธรรมราช มหาราชนครศรีธรรมราช 12 สงขลา BoE กรุงเทพมหานคร เจริญกรุงประชารักษ์

การเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ ภายใต้กรอบความร่วมมือ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขและสำนักระบาดวิทยา 10 สถานพยาบาล ใน 8 จังหวัด ดำเนินการ ตั้งแต่ พ.ศ.2548 - ปัจจุบัน

จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ หน่วยงาน จังหวัด สถานบริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จันทบุรี รพ.พระปกเกล้า ตราด รพ.เกาะช้าง หนองคาย รพ.หนองคาย ตาก รพ.แม่สอด เชียงราย รพ. เชียงแสน รพ. แม่จัน สุราษฏร์ธานี รพ.เกาะสมุย รพ.กรุงเทพ เกาะสมุย สงขลา รพ.หาดใหญ่ กรุงเทพฯ ศูนย์บริการสาธารณสุข 17

บูรณาการระบบเฝ้าระวัง เชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข (NIH) กรมควบคุมโรค โดย สำนักระบาดวิทยา (BoE)

จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ เขต จังหวัด โรงพยาบาล 1 พระนครศรีอยุธยา 2 ลพบุรี 3 ฉะเชิงเทรา 4 สมุทรสาคร 5 นครราชสีมา มหาราชนครราชสีมา 6 อุดรธานี 7 อุบลราชธานี สรรพสิทธิประสงค์ 8 นครสวรรค์ สวรรค์ประชารักษ์ 9 พิษณุโลก พุทธชินราช 10 เชียงใหม่ นครพิงค์ 11 นครศรีธรรมราช มหาราชนครศรีธรรมราช 12 ตรัง BoE กรุงเทพมหานคร นพรัตนราชธานี

จุดเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ หน่วยงาน จังหวัด สถานบริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จันทบุรี รพ.พระปกเกล้า* ตราด รพ.เกาะช้าง หนองคาย รพ.หนองคาย ตาก รพ.แม่สอด* เชียงราย รพ. เชียงแสน รพ. แม่จัน สุราษฏร์ธานี รพ.เกาะสมุย รพ.กรุงเทพ เกาะสมุย สงขลา รพ.หาดใหญ่ กรุงเทพฯ ศูนย์บริการสาธารณสุข 17 นนทบุรี สถาบันบำราศนราดูร** หมายเหตุ * เก็บ Pneumonia-IPD ** เพิ่งเริ่มดำเนินการ

จุดเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ ประเทศไทย NIH 11 สถานพยาบาล 9 จังหวัด BOE 13 โรงพยาบาล 13 จังหวัด NIH BoE

วัตถุประสงค์ ให้ทราบถึงสัดส่วนของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ต่าง ๆ ในกลุ่มผู้ป่วยอาการคล้าย ไข้หวัดใหญ่ที่มารับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของสถานพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ให้ทราบถึงสัดส่วนของเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ต่าง ๆ ในกลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบที่รับ ไว้รักษาในสถานพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ใช้ร่วมประเมินสถานการณ์ไข้หวัดใหญ่ ใน ภูมิภาค ของประเทศ

กิจกรรมการดำเนินงาน ในแต่ละหน่วยงาน โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ และ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1-12 และ สำนักระบาดวิทยา

โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง เก็บข้อมูลผู้ป่วยที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก (OPD) รายสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยนอกทั้งหมด ที่มารับบริการในช่วงสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยนอก ตามรหัส ICD10 ดังนี้ J00, J02.9, J06.9, J09, J10, J11) เก็บข้อมูลผู้ป่วยปอดอักเสบที่นอนรักษาตัวใน รพ. (IPD) รายสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด ที่เข้ารับการรักษาในช่วงสัปดาห์ จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบที่นอนรักษาใน รพ. ตามรหัส ICD10 ตั้งแต่รหัส J12 ถึง J18 ส่งข้อมูลให้ สสจ. ทุกสัปดาห์ (จันทร์ หรือ อังคาร) หมายเหตุ สัปดาห์ นับจากวันอาทิตย์ ถึงวันเสาร์

ผู้ป่วยนอกที่รับบริการใน รพ. ผู้ป่วยที่รับไว้นอนรักษา ใน รพ. จำนวนผู้ป่วย ILI ต่อจำนวนผู้ป่วยนอกที่มารับบริการทั้งหมด และจำนวนผู้ป่วย Admitted Pneumonia ต่อจำนวนผู้ป่วยในทั้งหมด รายสัปดาห์ โรงพยาบาล ....................................... พ.ศ. 2553 สัปดาห์ที่ วันเริ่มต้นสัปดาห์ วันสิ้นสุดสัปดาห์ ผู้ป่วยนอกที่รับบริการใน รพ. ผู้ป่วยที่รับไว้นอนรักษา ใน รพ. จำนวนทั้งหมด (ราย) จำนวน ILI (J00, J02.9, J06.9, J09, J10, J11) % ILI ต่อ OPD visit Pneumonia (J12 ถึง J18) % Pneumonia ต่อ IPD 1 3-ม.ค.-53 9-ม.ค.-53   2 10-ม.ค.-53 16-ม.ค.-53 3 17-ม.ค.-53 23-ม.ค.-53 4 24-ม.ค.-53 30-ม.ค.-53 5 31-ม.ค.-53 6-ก.พ.-53 6 7-ก.พ.-53 13-ก.พ.-53 7 14-ก.พ.-53 20-ก.พ.-53 8 21-ก.พ.-53 27-ก.พ.-53 9 28-ก.พ.-53 6-มี.ค.-53 10 7-มี.ค.-53 13-มี.ค.-53 11 14-มี.ค.-53 20-มี.ค.-53 12 21-มี.ค.-53 27-มี.ค.-53 13 28-มี.ค.-53 3-เม.ย.-53

โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง สุ่มเก็บตัวอย่างจากผู้ป่วยนอกที่มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ตามนิยามผู้ป่วย ดังนี้ “ผู้ป่วยที่มีไข้สูง วัดอุณหภูมิร่างกายได้ตั้งแต่ 38 ๐C ขึ้นไป หรือ ให้ประวัติว่ามีไข้ ร่วมกับไอ และ/หรือ เจ็บคอ ในช่วง 5 วันที่ ผ่านมา” เก็บตัวอย่าง Throat swab or Nasopharyngeal swab จาก ผู้ป่วยนอก ILI ตามนิยาม 10 ราย ต่อ สัปดาห์ พร้อมกรอก รายละเอียดในใบนำส่ง โดยแบ่งสุ่มเก็บตัวอย่าง เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ เด็ก อายุ 1 วัน ถึง 15 ปี จากแผนกผู้ป่วยนอกกุมารเวชกรรม จำนวน 5 ตัวอย่าง ผู้ใหญ่ อายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป จากแผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรม จำนวน 5 ตัวอย่าง หมายเหตุ ทำการเก็บตัวอย่างในวัน-เวลาราชการ ควรเก็บทุกวันจันทร์

โรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง สุ่มเก็บตัวอย่าง Throat swab หรือ Nasopharyngeal swab หรือ Nasopharyngeal aspirate จากผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย เป็นปอดอักเสบและรับไว้นอนรักษาในโรงพยาบาล (admitted pneumonia) จำนวน 5 ราย ต่อ สัปดาห์ พร้อม กรอกรายละเอียดในใบนำส่ง สามารถทำการเก็บตัวอย่างได้ตั้งแต่วันจันทร์ ถึง วันพุธ ให้ครบ ตามขนาดตัวอย่างที่กำหนด นำส่งตัวอย่างที่เก็บได้ ในแต่ละสัปดาห์ ให้ถึงห้องปฏิบัติการ ที่กรม/ศูนย์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ ภายในวันพุธ/พฤหัส ของแต่ละสัปดาห์ พร้อมหนังสือนำส่ง (อาจนำส่งโดยตรง หรือ ประสานให้ สสจ.นำส่ง แล้วแต่กรณี) หมายเหตุ ทำการเก็บตัวอย่างในวัน-เวลาราชการ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เป็นแกนประสานการดำเนินงาน ระหว่าง รพ., ศูนย์/กรม วิทยาศาสตร์การแพทย์, และ สคร.:- ประสาน และ นำส่งตัวอย่างไปตรวจหาเชื้อไข้หวัดใหญ่ ที่ ศูนย์/กรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ ทุกสัปดาห์ ขึ้นกับแต่ละจังหวัด รวบรวมข้อมูล ILI – OPD , Pneumonia – IPD ส่งให้ สคร.ที่รับผิดชอบ และสำเนาส่ง สำนักระบาด โดยทาง e-mail หรือ โทรสาร วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสถานการณ์โรค ไข้หวัดใหญ่ของจังหวัด สรุปสถานการณ์เสนอผู้บริหารระดับจังหวัด และ ผู้ตรวจราชการ เขต

ศูนย์/กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ดำเนินการตรวจวิเคราะห์ โดยวิธี RT- PCR เพื่อหา เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza virus) พร้อม ทั้งจำแนกสายพันธุ์ รายงานผลการตรวจไปให้หน่วยงานที่ส่งตรวจ และสำนักระบาดวิทยา ทุกสัปดาห์ (ทุกวันจันทร์)

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตัวอย่างส่งตรวจ :- Throat swab, Nasopharyngeal aspiration, secretion Positive PCR for Influenza Negative รายงาน Neg Influenza B Influenza A รายงาน new Flu A 2009 PCR for Influenza A : H1 2009 Positive รายงาน Flu B Negative รายงาน seasonal Flu A:H1 PCR for Influenza A : H1 seasonal Positive Negative รายงาน seasonal Flu A:H3 PCR for Influenza A : H3 Positive Negative รายงาน Influenza A unsubtype

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์, สคร. และ สนร. ประสาน สนับสนุนการดำเนินงาน ด้านต่าง ๆ :- วิชาการ งบประมาณค่าตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ ระดับภาค ประเทศ ทุกสัปดาห์ จัดทำสถานการณ์เสนอผู้บริหาร และส่งกลับให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน ทุก สัปดาห์

หน่วยงานที่ตรวจตัวอย่าง รายชื่อจังหวัด โรงพยาบาล ห้องปฏิบัติการ และหน่วยประสาน การดำเนินงานเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ ตั้งแต่ ก.พ. 2553 ลำ ดับ จังหวัด โรงพยาบาลที่เป็น จุดเฝ้าระวัง หน่วยงานประสาน หน่วยงานที่ตรวจตัวอย่าง 1 พระนครศรีอยุธยา รพ.พระนครศรีอยุธยา สคร.ที่ 1 สวส. กรมวิทย์ 2 ลพบุรี รพ.ลพบุรี สคร.ที่ 2 ศวก.นครสวรรค์ 3 ฉะเชิงเทรา รพ.ฉะเชิงเทรา สคร.ที่ 3 ศวก.ชลบุรี 4 สมุทรสาคร รพ.สมุทรสาคร สคร.ที่ 4 ศวก.สมุทรสงคราม 5 นครราชสีมา รพ.มหาราชนครราชสีมา สคร.ที่ 5 ศวก.นครราชสีมา 6 อุดรธานี รพ.อุดรธานี สคร.ที่ 6 ศวก.อุดรธานี 7 อุบลราชธานี รพ.สรรพสิทธิประสงค์ สคร.ที่ 7 ศวก.อุบลราชธานี 8 นครสวรรค์ รพ.สวรรค์ประชารักษ์ สคร.ที่ 8 9 พิษณุโลก รพ.พุทธชินราช สคร.ที่ 9 ศวก.พิษณุโลก 10 เชียงใหม่ รพ.นครพิงค์ สคร.ที่ 10 ศวก.เชียงใหม่ 11 นครศรีธรรมราช รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช สคร.ที่ 11 ศวก.ตรัง 12 ตรัง รพ.ตรัง สคร.ที่ 12 13 กรุงเทพมหานคร รพ.นพรัตนราชธานี สนร.

ผลการเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่ จาก โรงพยาบาล 13 แห่ง สัปดาห์ที่ 29/52 - 36/53 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 - 11 ก.ย. 2553)

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) % เปลี่ยนจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) % เปลี่ยนจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง

ภาคกลาง 5 sentinel site :- เขต 1 รพ.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 รพ.ลพบุรี เขต 1 รพ.พระนครศรีอยุธยา เขต 2 รพ.ลพบุรี เขต 3 รพ.ฉะเชิงเทรา เขต 4 รพ.สมุทรสาคร สนร. รพ.เจริญกรุงประชารักษ์ (สัปดาห์ที่ 1-6) รพ.นพรัตนราชธานี (ดำเนินการตั้งแต่สัปดาห์ที่ 7/2553)

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 5 แห่ง ในภาคกลาง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 5 แห่ง ในภาคกลาง ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 sentinel site :- เขต 5 รพ.มหาราชนครราชสีมา เขต 6 รพ.อุดรธานี เขต 7 รพ.สรรพสิทธิประสงค์

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

ภาคเหนือ 3 sentinel site :- เขต 8 รพ.สวรรค์ประชารักษ์ เขต 8 รพ.สวรรค์ประชารักษ์ เขต 9 รพ.พุทธชินราช เขต 10 รพ.นครพิงค์

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 3 แห่ง ในภาคเหนือ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

ภาคใต้ 2 sentinel site :- เขต 11 รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช เขต 11 รพ.มหาราชนครศรีธรรมราช เขต 12 รพ.ตรัง (ดำเนินการตั้งแต่สัปดาห์ที่ 11/2553)

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วย ILI ที่รับบริการในแผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง ในภาคใต้ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) % จำนวน (ราย)

จำนวน และสัดส่วน (%) ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่ จำแนกตามสายพันธุ์ กลุ่มผู้ป่วยปอดอักเสบ ที่รับไว้ในโรงพยาบาลที่เป็นจุดเฝ้าระวัง 2 แห่ง ในภาคใต้ ตั้งแต่สัปดาห์ที่ 29/2552 – 36/2553 (วันที่ 19 ก.ค. 2552 – 11 ก.ย. 2553) จำนวน (ราย) %

ผลการเฝ้าระวังเชื้อไข้หวัดใหญ่เฉพาะพื้นที่ NIH ประจำสัปดาห์ที่ 36 พ. ศ

Influenza Positive cases by influenza Surveillance Network by month, 2004 – 2009 ( 5 years) 2005 2006 2007 2008 2009 39

Influenza Positive cases by influenza Surveillance Network by week, Jan- 11 Sep 2010

สัดส่วนของผู้ป่วย ILI และ สัดส่วนตัวอย่างที่ตรวจพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ จากสถานพยาบาลเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่รวม 11 แห่ง ตั้งแต่ มกราคม ถึง 11 ก.ย. 2553 % week

สัดส่วนของผู้ป่วย ILI จากสถานพยาบาลเฝ้าระวังเฉพาะพื้นที่รวม 11 แห่ง ตั้งแต่ มกราคม ถึง 11 ก.ย. 2553 เทียบกับ ค่าพื้นฐาน

Influenza subtypes by region 2005-2008 ( 4 years) 2005: A / (H3) 2006: A / (H1) 2007: A / (H3) 2008: B Thai NIH, DMSc, Thailand MoPH 09/04/60 Krongkaew Supawat , NIH 43 43

การประเมินสถานการณ์ในพื้นที่ การเพิ่มขึ้นของ ILI, pneumonia มีในพื้นที่ อำเภอใดบ้าง เมื่อไร การตรวจพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์อะไร ในพื้นที่ใดบ้าง จำนวน influenza และ pnuemonia ใน 506 สูง กว่าค่าเฉลี่ย 5 ปีที่ผ่านมา น่าจะเกิดการระบาดใน พื้นที่ สัดส่วนการตรวจพบเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ใน ILI และ pneumonia ทีได้จาก sentinel นำมา คำนวณเทียบกับ ILI และ pneumonia เพื่อ ประมาณการ

สัดส่วนผู้ป่วยอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ต่อผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่รับบริการในสถานพยาบาล ประเทศไทย พ.ศ.2553 ณ วันที่ 17 ก.ย.2553

จำนวนผู้ป่วย/เสียชีวิต โรคไข้หวัดใหญ่ & ปอดอักเสบ จากระบบรายงาน 506, พ จำนวนผู้ป่วย/เสียชีวิต โรคไข้หวัดใหญ่ & ปอดอักเสบ จากระบบรายงาน 506, พ.ศ. 2553 โรคไข้หวัดใหญ่ วันที่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย. 2553 จำนวนผู้ป่วย 59,412 ราย เสียชีวิต 83 ราย โรคปอดอักเสบ วันที่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย. 2553 จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 104,010 ราย เสียชีวิต 721 ราย

จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่รายเดือน ตั้งแต่พ. ศ จำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่รายเดือน ตั้งแต่พ.ศ. 2552 ถึง 2553 เปรียบเทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี จำนวนผู้ป่วย (ราย) สัปดาห์ที่ ที่มา: รง506 สำนักระบาดวิทยา

จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบ รายเดือน ตั้งแต่พ. ศ. 2552 ถึง ก. ย จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบ รายเดือน ตั้งแต่พ.ศ. 2552 ถึง ก.ย. 2553 เปรียบเทียบค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี จำนวนผู้ป่วย (ราย) สัปดาห์ที่ ที่มา: รง506 สำนักระบาดวิทยา

จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบรายสัปดาห์ ระหว่างปี พ.ศ.2548 – 2553 จำนวนผู้ป่วยปอดอักเสบรายสัปดาห์ ระหว่างปี พ.ศ.2548 – 2553 จำนวนผู้ป่วย (ราย) ที่มา: รง506 สำนักระบาดวิทยา สัปดาห์ที่

การรายงานจำนวนผู้ป่วย/เสียชีวิต ที่ตรวจพบเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 พ.ศ. 2553 ณ วันที่ 18 กันยายน 2553 ได้รับรายงานเพิ่มเติมดังนี้ ผู้ป่วยยืนยันสะสมตั้งแต่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย. 53 11,152 ราย เป็นผู้ป่วยรายใหม่ตั้งแต่ 5-18 ก.ย. 53 388 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิตสะสมตั้งแต่ 1 ม.ค.- 18 ก.ย. 53 74 ราย เป็นผู้เสียชีวิตรายใหม่ตั้งแต่ 5-18 ก.ย. 53 1 ราย อีก 2 รายเสียชีวิต (จังหวัดชุมพร และลพบุรี)

จำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตที่ยืนยันการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ H1N1: 2009 เทียบกับจำนวนผู้ป่วยไข้หวัดใหญ่ที่ได้รับรายงาน 506 จำแนกตามสัปดาห์ที่เริ่มป่วย, ม.ค.- 11 ก.ย.2553 ผู้ป่วย (ราย) เสียชีวิต (ราย) Resource : surveillance database of BOE

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม ดูความรุนแรงของโรคและการแพร่ระบาด ข้อมูลการระบาดเป็นกลุ่มก้อน ข้อมูลผู้เสียชีวิต

E-mail โทรศัพท์ โทรสาร สำนักระบาดวิทยา outbreak@health.moph.go.th ubol_ratana@yahoo.com thity_24@yahoo.com โทรสาร 02-591-8579 โทรศัพท์ 02-590-1882, 02-590-1779 081-446-5298 081-454-3593

Thank you for your attention