Application of PID Controller

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

บริษัท กุ้งหลวงไคโตซาน จำกัด
10 บัญญัติ ประหยัดน้ำมัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.

สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
Device for single – phase ac parameter measurement
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
เครื่องจ่ายน้ำยาเคมี (Anionic Polymer)
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ระเบียบการเงินที่ควรทำความรู้จัก
ให้นักศึกษาลองดู Example 8.10 และ 8.11 ประกอบ
อะไรคือ “ไฮบริด”. อะไรคือ “ไฮบริด” ไฮบริด ( hybrid) คือ ระบบการทำงานของเครื่องยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สองระบบทำงานร่วมกัน โดยทั่วไปแล้วหมายถึงการทำงานร่วมกันระหว่างระบบสันดาปภายในที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงทำงานร่วมกับระบบมอเตอร์ไฟฟ้า.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
การเรียนรู้ คณิตศาสตร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
INC341 State space representation & First-order System
แผนปฏิบัติการจัดซื้อ/จ้าง ที่ผู้บริหารควรรู้ !!
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
Digital Data Communication Technique
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
คณะกรรมการ “รวมพลังศรีปทุมหารสอง”
การออกแบบการวิจัย.
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
(Applications of Derivatives)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
การยกเว้นไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบพัสดุ
ข้อมูลค่าซ่อมแซมยานพาหนะ ( ) สำหรับรถยนต์อายุการใช้งาน 14 ปีขึ้นไป
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
ควบคุมโรคจากแมลงพาหะ
สำนักงานขนส่งจังหวัดอุบลราชธานี
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
LOGO บัญชีรายได้ประชาชาติและองค์ประกอบค่าใช้จ่าย.
Linked List (ลิงค์ลิสต์)
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุจราจร
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
Topic Basic science of calcium Basic science of vitamin D
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
การเร่งโครงการ Expedite Project.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เครื่องสำรองไฟฟ้า(UPS)
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
มาตรการประหยัดพลังงาน
Stepper motor.
สภาวะโลกร้อน ร้อน จัดทำโดย นายอรรถพล เพ็งพันธ์. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซี่งปรากฏการณ์ทั้งหลายเกิดจากภาวะโลกร้อนขึ้นที่มีมูลเหตุมา จากการปล่อยก๊าซพิษต่าง.
รถยนต์วิ่งมาด้วยความเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที ขณะที่อยู่ห่างจากสิ่งกีดขวางเป็นระยะทาง 35 เมตร คนขับก็ตัดสินใจห้ามล้อโดยเสียเวลา 1 วินาที ก่อนห้ามล้อจะทำงาน.
* นมพาสเจอร์ไรส์ : นมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อด้วยความร้อน เพื่อลดปริมาณจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคให้อยู่ในระดับที่ ปลอดภัย ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ โดยใช้ความร้อนที่
DC motor.
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101) กราฟและ การนำไปใช้
Ch 8 Simple RC and RL Circuits
System Performance.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Application of PID Controller โดย อ. ภูมิ เหลืองจามีกร

Example 1: Cruise Control System

Example 1: Cruise Control System (ต่อ) M = 1000 kg. (มวลรถ) b = 50 Nsec/m F = 500 N (แรงขับเคลื่อน) F friction จาก Transfer function จะพบว่าเมื่อเครื่องยนต์ออกแรง 500 นิวตัน จะสามารถเร่งให้รถมีความเร็วขึ้นไปได้ถึง 10 เมตรต่อวินาที ณ สภาวะอยู่ตัว M Transfer Function :

Example 1: Cruise Control System (ต่อ) สามารถเร่งให้รถมีความเร็ว 10 เมตรต่อวินาที (36 กม.ต่อชม.) ได้ภายในเวลาน้อยกว่า 5 วินาทีและรักษาความเร็วรถให้คงอยู่ที่ค่านี้ ไม่ทำให้รถมีความเร็วพุ่งเกินค่าที่ตั้งไว้เกินกว่า 10% และยอมให้มีความเร็วจริงของรถในสภาวะอยู่ตัวมีค่าคลาดเคลื่อนไปจากค่าที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2 %

Example 1: Cruise Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ Proportional Controller เข้าไปอย่างเดียว โดยใช้ Kp = 100 จะพบว่าในกรณีนี้รถจะถูกเร่งขึ้นไปได้ถึงแค่ประมาณ 6 เมตรต่อวินาทีเท่านั้น ในขณะที่เราตั้งค่าไว้ที่ 10 เมตรต่อวินาที (36 ก.ม./ชม.) และใช้เวลากว่า 20 วินาที ซึ่งตัวควบคุมแบบนี้ ยังไม่ทำให้สมรรถนะของระบบเป็นไปตามที่เราต้องการ

Example 1: Cruise Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ Proportional Controller เข้าไปอย่างเดียว โดยใช้ Kp = 10,000 ในทางทฤษฎีแล้ว เราสามารถลด Steady state error และ Rise time ได้โดยเพิ่มค่า Kp ให้มากๆ เข้าไว้ นั่นคือ ถ้า Kp = 10,000 จะสามารถทำให้ Steady state error ลดลงจนเกือบเป็น 0 และ Rise time เหลือแค่ไม่ถึงครึ่งวินาทีเท่านั้น แต่ในทางปฏิบัติแล้ว ไม่มีระบบ Cruise control ในรถยนต์คันใดสามารถเร่งความเร็วรถจาก 0 ถึง 36 กม.ต่อชม. ได้ภายในเวลาอันน้อยนิดเพียงนี้

Example 1: Cruise Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ Proportional-Integral Controller เข้าไป โดยใช้ Kp = 600 และ Ki = 1 จึงต้องแก้ปัญหาด้วยการเพิ่ม Kp เพื่อลด Rise time และเพิ่ม Integral Controller เข้าไปเพื่อกำจัด Steady state error โดยควรเริ่มจากค่า Ki น้อยๆ ก่อนเพราะ หากค่า Ki นี้ยิ่งมากจะยิ่งทำให้ระบบสูญเสียเสถียรภาพ

Example 1: Cruise Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ Proportional-Integral Controller เข้าไป โดยใช้ Kp = 800 และ Ki = 40 หลังจากปรับค่า Kp และ Ki ให้เหมาะสม ก็จะได้สมรรถนะของระบบตามที่เราต้องการแล้ว ซึ่งในตัวอย่างนี้ จะพบว่าการนำ PI Controller มาใช้ในระบบนี้ก็เพียงพอแล้ว เพราะไม่เกิด overshoot ขึ้น จึงไม่จำเป็นต้องใช้ตัวควบคุมแบบ Differential เข้ามาเพิ่มให้เป็น PID controller

Example 2: DC Motor Speed Control System

Example 2: DC Motor Speed Control System (ต่อ) Transfer Function :

Example 2: DC Motor Speed Control System (ต่อ) สามารถทำให้มอเตอร์มีความเร็วอยู่ที่ 1 เรเดียนต่อวินาที (9.5 รอบต่อนาที) จากสภาพหยุดนิ่ง ได้ภายในเวลาต่ำกว่า 2 วินาที ไม่ทำให้ความเร็วรอบของมอเตอร์พุ่งขึ้นไปสูงเกิน 5 % ของค่าที่ตั้งไว้ และยอมให้มีความเร็วรอบจริงของมอเตอร์ในสภาวะอยู่ตัวมีค่าคลาดเคลื่อนไปจากค่าที่ตั้งไว้ไม่เกิน 1 %

Example 2: DC Motor Speed Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ Proportional Controller เข้าไปอย่างเดียว โดยใช้ Kp = 100 เริ่มจากทดลองใช้ P-Controller ที่มี Kp= 100 ซึ่งพบว่าสามารถทำให้ความเร็วรอบของมอเตอร์ขึ้นไปได้ถึงเพียงแค่ประมาณ 0.9 เรเดียนต่อวินาทีซึ่งต่ำกว่าค่าที่ต้องการ และมี Overshoot สูงเกินค่าที่ยอมรับได้ เนื่องจากผลตอบของระบบมีทั้ง Steady state error และ Overshoot จึงต้องนำ PID Controller มาใช้

Example 2: DC Motor Speed Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ PID Controller โดยใช้ Kp = 100, Ki = 1 และ Kd = 1 เริ่มต้นจากค่า Ki และ Kd ที่น้อยๆ ก่อน ซึ่งจะพบว่าสามารถกำจัด Steady state error ไปได้แล้ว แต่ปรากฏว่าระบบใช้เวลาเข้าสู่สภาวะอยู่ตัวที่นานเกินไป จึงแก้ปัญหาด้วยการเพิ่มค่า Ki เพื่อลด Settling time ลง

Example 2: DC Motor Speed Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ PID Controller โดยใช้ Kp = 100, Ki = 200 และ Kd = 1 เมื่อเพิ่มค่า Ki ขึ้นเป็น 200 จะพบว่าสามารถลด Settling time ของระบบลงได้มาก แต่ยังคงเกิด Overshoot ขึ้นอยู่ เนื่องจาก Ki ที่มีค่ามากๆ จะทำให้ผลตอบชั่วครู่ของระบบแย่ลง จึงต้องเพิ่มค่า Kd ขึ้นเพื่อลด Overshoot

Example 2: DC Motor Speed Control System (ต่อ) ผลตอบของระบบเมื่อใช้ PID Controller โดยใช้ Kp = 100, Ki = 200 และ Kd = 10 หลังจากเพิ่มค่า Kd ขึ้นเป็น 10 จะพบว่าสามารถกำจัด Overshoot ของระบบลงได้ และทำให้ผลตอบชั่วครู่ของระบบดีขึ้นและยังเข้าสู่สภาวะอยู่ตัวโดยปราศจาก Steady state error ได้เร็วขึ้น ทำให้ระบบควบคุมความเร็วของมอเตอร์นี้สามารถตอบสนองความต้องการที่เราตั้งไว้ได้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว