งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM

2 2 รูปที่ 4.6 โครงสร้างของระบบที่มีตัวชดเชยที่ปรับให้เหมาะกับการอนุวัตตัวชดเชย

3 3 รูปที่ 4.7 ผลตอบสนองของระบบที่ใช้ ตัวชดเชยตามวิธี CDM รูปที่ 4.8 ผลตอบสนองทางความถี่ของ ระบบวงปิดที่มีตัวชดเชยแล้ว

4 4 รูปที่ 4.9 ผลตอบสนองทางความถี่ของพังก์ชันถ่ายโอนวงเปิด

5 5 ตัวชดเชยที่ได้จากการออกแบบด้วยวิธี CDM สามารถกำจัดรีโซแนนซ์การบิดให้กับ ระบบได้ ดังแสดงในรูปที่ 4.7 และ 4.8 แต่ เมื่อพิจารณาถึงเสถียรภาพสัมพัทธ์ของ ระบบดังแสดงในรูปที่ 4.9 จะเห็นได้ว่า วงกลมเส้นสีแดงมีแนวโน้มที่จะทำให้ระบบ ขาดเสถียรภาพได้ ดังนั้นจึงต้องแก้ปัญหา ดังกล่าวโดยเพิ่มชุดตัวชดเชย G add เข้าไป

6 6 รูปที่ 4.10 แผนภาพแสดงระบบหลังการชดเชยที่เพิ่มชุด G add (4-27) (4-28) (4-29)

7 7 รูปที่ 4.11 ผลตอบสนองทางความถี่ ของฟังก์ชันถ่ายโอนวงเปิดที่เพิ่มชุด G add รูปที่ 4.12 ผลตอบสนองทางความถี่ของ ฟังก์ชันถ่ายโอนวงปิดที่เพิ่มชุด G add

8 8 จากรูปที่ 4.11 จะพบว่าชุด G add ที่เพิ่ม ไปที่ตัวชดเชย จะทำให้ระบบมีเสถียรภาพ สัมพัทธ์ที่ดี และยังคงสามารถกำจัดรี โซแนนซ์การบิดให้กับระบบได้เมื่อพิจารณา ทั้งโดเมนเวลาและโดเมนความถี่

9 9 รูปแสดงระบบตามโครงสร้าง CDM เมื่อมีการรบกวนระบบ

10 10 เมื่อดำเนินการจำลองสถานการณ์ระบบ เมื่อมีสัญญาณรบกวนดังรูปข้างต้น จะ พิจารณาเป็นการรบกวนทางด้านโหลดที่ ป้อนเป็นแบบขั้นบันได ณ เวลา 2 วินาที ซึ่ง จากโครงสร้างของระบบจะมีการเพิ่มบล็อก ความไม่เป็นเชิงเส้นแบบอิ่มตัว ที่มีความชัน เท่ากับ 2 และอิ่มตัวที่แรงดัน 8 โวลต์ โดย บล็อกดังกล่าวเพิ่มเข้ามา เพื่อป้องกันไม่ให้ สัญญาณที่ป้อนเข้าสู่ระบบมีค่ามากเกินไป จน อาจส่งผลให้ระบบทางกลเกิดความเสียหาย

11 11 รูปที่ 4.13 ผลตอบสนองทางเวลาของเอาต์พุตเมื่อมีการรบกวนระบบ

12 12 จากรูปที่ 4.13 เมื่อพิจารณาตลอดย่าน การทำงานอินพุต จะสังเกตเห็นได้ว่าตัว ชดเชยวิธี CDM มีความสามารถในการฟื้น คืนจากการรบกวนได้โดยที่ไม่ปรากฏค่า ผิดพลาดสถานะอยู่ตัว

13 13 การอนุวัตตัวชดเชย ตัวชดเชยที่ได้วิธี CDM เมื่อนำมาอนุวัต เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และดำเนินการ ทดสอบให้ผลเป็นดังรูปที่ 4.20 ซึ่งจะมี สัญญาณรบกวนจำนวนมากปรากฏที่ผลการ ทดสอบตัวชดเชย ทำให้ตัวชดเชยที่อนุวัตขึ้น ไม่เหมาะที่จะนำมาใช้กำจัดรีโซแนนซ์การบิด ให้กับระบบคู่ควบเชิงกล

14 14 รูปที่ 4.20 ผลการทดสอบตัวชดเชย


ดาวน์โหลด ppt 1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google