การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
ระบบHomeward& Rehabilation center
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
สรุปการประชุม F.S.C เขตบริการสุขภาพที่ 2
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.การตรวจประเมินสถานที่ผลิตอาหารPrimary GMP
งานยาเสพติด.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
พื้นที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินอุทกภัยในพื้นที่
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
สถานการณ์ / สภาพปัญหา / มาตรการ ดำเนินการ o เป้าหมาย 11 อำเภอ o 3 กลุ่มเป้าหมาย o 1. ผู้สูงอายุติดเตียง 994 คน o 2. ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ 656.
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
DHS.
การดูแลผู้ป่วยระยะยาว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ

การพัฒนาระบบส่งต่อ

ระบบส่งต่อจังหวัดพัทลุง เป้าหมาย/ตัวชี้วัด ผลการดำเนินการ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง/ปัญหา โครงการ/กิจกรรม -จำนวนผู้ป่วยส่งต่อนอกเขตบริการลดลง ร้อยละ50 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา -ปี 2556 (3เดือน) ส่งต่อนอกเขต 461 ราย -ปี 2557 (3เดือน) ส่งต่อนอกเขต 171 ราย -ปี 2558 (3เดือน) ส่งต่อนอกเขต 65 ราย ลดลงร้อยละ 72.68 การส่งต่อนอกเขต พบว่า สาเหตุหลัก คือ เกินศักยภาพ (รักษาอยู่แล้วไปตามนัด) โรคที่ส่งต่อ คือ มะเร็ง,หัวใจ,ระบบประสาท,จิตเวช โรงพยาบาลที่ส่ง คือจุฬาลงกรณ์,ศิริราช,รามา,มหาราช ปัจจัยที่ส่งเสริม -เขตมีแนวทางการส่งต่อที่ชัดเจนขึ้น เช่น การส่งต่อผู้ป่วย MI,Stroke,Trauma และมีการประชุมติดตามผลการดำเนินงานและมีการส่งข้อมูลกลับในเขต รพ.พัทลุงมี CT Scanและแพทย์เฉพาะทางเพิ่มขึ้น ปัญหา -การเชื่อมโยงระบบข้อมูลในระดับจังหวัด/เขตยังไม่มีการประมวลผลจากระบบ IT -การใช้ระบบ Thai Refer ยังไม่ครอบคลุมทุก ร.พ.และทุกหน่วยบริการที่รับและส่งต่อ -ญาติมีความเชื่อและศรัทธาที่จะไปรักษา ร.พ.สวนสราญรมย์ มากกว่า ร.พ. จิตเวช สงขลา -พัฒนาระบบ Thai Refer ให้ลงสู่การปฏิบัติทุกโรงพยาบาล -ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติงานตาม SPที่กำหนด -ระดับจังหวัดมีการประชุมทบทวนผลการปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหา ทุก 1 เดือน

การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย

Palliative Care Unit 1.มีการดูแลทุกโรงพยาบาล โดยคณะกรรมการสหสาขาวิชาชีพ ยกเว้นรพ.ศรีนครินทร์(ปัญญานันทภิกขุ) 2.มีกิจกรรมการดูแลทั้งกาย จิต สังคม 3.มีข้อมูลผู้ป่วยที่ให้บริการ

Palliative Care Unit ปัญหา 1. แพทย์มีส่วนร่วมน้อยในรพช. ในการลงวินิจฉัย 2. ผู้ให้บริการขาดทักษะการดูแล 3. การสื่อสาร ส่งต่อข้อมูลลงสู่ชุมชน ขาดความต่อเนื่อง

Palliative Care Unit ปัญหา 4.ความเชื่อมโยงข้อมูลจากรพท. ไปรพช. ชุมชน และส่งต่อข้อมูลย้อนกลับยังไม่ต่อเนื่อง แม้มีโปรแกรมการส่งต่อข้อมูลเยี่ยมบ้านจากรพท. 5.การสนับสนุนเรื่องอุปกรณ์ให้เพียงพอกับผู้รับบริการมีน้อย

Palliative Care Unit ข้อเสนอแนะ 1. อบรมแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่รพ.ตรัง 23-24 กพ. 58 โดยตัวแทนจากรพ.ทุกแห่ง 2. จัดตั้งคณะกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย จังหวัดพัทลุง มีค.58 ทั้งผู้ดูแลระบบและในรพ. 3. จัดตั้งคณะกรรมการศูนย์ดูแลต่อเนื่อง จังหวัดพัทลุง มีค.58 ในเรื่องข้อมูล

Palliative Care Unit ข้อเสนอแนะ สร้างความสัมพันธ์กับภาคีเครือข่าย เพื่อสนับสนุนงบประมาณจัดหาอุปกรณ์

DHS ผลการดำเนินงาน 1.ประเมินตนเองผ่านขั้น 4 จำนวน 2 เครือข่าย(ควนขนุน,เมือง) 2. ประเมินตนเองผ่านขั้น 3 จำนวน 9 เครือข่าย

DHS ประเด็นปัญหาที่คัดเลือก -โรคเรื้อรัง เบาหวาน /ความดัน 10 เครือข่าย -ผู้พิการ 1 เครือข่าย

DHS แผนดำเนินงาน 1.จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน พย./มค./มีค./พค./กค./กย. 2. พัฒนาศักยภาพทีมประเมินและพี่เลี้ยงระดับอำเภอ แห่งละ 5 คน 10 กพ. 58 3. ตรวจประเมิน เมษา-มิย.58 โดยทีมจังหวัดทุกอำเภอ ทุกแห่งผ่านขั้น 3

DHS แผนดำเนินงาน 4. ส่งอำเภอที่ผ่านการประเมินขั้น 4 รับการประเมินจากทีมประเมินของเขต 5. ใช้เกณฑ์ประเมิน DHS-PCA ( ระดับคะแนน 1-5 คะแนน )

DHS ข้อเสนอแนะ สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ทั้งในส่วนบุคลากร ภาคีเครือข่าย สนับสนุนการประสานงานระหว่างหน่วยงานในท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย โดยสื่อสารข้อมูลด้านสาธารณสุขที่เป็นปัญหาของพื้นที่

ทีมหมอประจำครอบครัว (Family Care Team) ดูแลประชาชนทุกกลุ่มวัย

สถานการณ์/สภาพปัญหา/มาตรการดำเนินการ เป้าหมาย 11 อำเภอ 3 กลุ่มเป้าหมาย 1. ผู้สูงอายุติดเตียง 1,078 คน 2. ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ 696 คน 3. ผู้ป่วยระยะสุดท้าย 24 คน รับนโยบาย ประสานพื้นที่ ชี้แจง แก่ อำเภอ โรงพยาบาล ทุกอำเภอจัดทำการ์ดปีใหม่ และจัดทีมหมอครอบครัวใน 3 ระดับ คือ ระดับอำเภอตำบล และชุมชน

การ์ดปีใหม่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับ ผลการดำเนินงาน อำเภอ จำนวน ทีมหมอครอบครัว จำนวนผู้สูงอายุ จำนวนผู้พิการ จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับ   รพ. รพ.สต. ศสม. ระดับอำเภอ ระดับตำบล ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้พิการที่ การดูแลแบบ (แห่ง) (ทีม) ทั้งหมด ติดเตียง ต้องได้รับ ประคับประคอง การดูแล (Palliative care) เมืองพัทลุง 1 24 3 17,208 363 1,565 193 15 กงหรา 9 4,116 45 844 เขาชัยสน 13 6,400 61 727 ตะโหมด 11 3,037 552 32 ควนขนุน 16 17 14,409 163 1,390 59 ปากพะยูน 7,047 72 49 6 ศรีบรรพต 2,213 5,289 10 ป่าบอน 5,315 57 612 58 2 บางแก้ว 7 3,214 22 332 26 ป่าพะยอม 4,139 442 329 ศรีนครินทร์ 5 3,243 60 27 124 4 125 70,341 928 11,813 696 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

เยี่ยมบ้าน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง

ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะ 1.การสื่อสารในระดับนโยบายสู่การปฏิบัติไม่มีการชี้แจงรายละเอียด หรือการส่งสารที่เป็นลายลักษณ์อักษร ส่งผลต่อการปฏิบัติในระดับ สสจ. 2.นโยบายหมอครอบครัว ที่มุ่งเป้าดูแล 3 กลุ่มเป้าหมาย ขาดการให้คำจำกัดความที่ชัด เจน ทำให้ข้อมูลที่ได้อาจมีความคลาดเคลื่อน 3.การประสานความร่วมมือ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายหมอครอบครัวในระดับเครือข่ายบริการ บางพื้นที่ ยังมีข้อจำกัดในการจัดทีม และการลงเยี่ยมที่ประกอบด้วยสหวิชาชีพ

ข้อเสนอแนะต่อนโยบาย การดำเนินงานนโยบายหมอครอบครัว ที่มุ่งเน้น ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ ต้องอาศัยระยะเวลา ขึ้นกับหลายปัจจัย และต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย และภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง