ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
Advertisements

ประเด็น ๒ มี.ค.๕๕ ทบทวนผลการประชุม ๒๒ ก.พ.๕๕
PCTG Model อริยมงคล 55.
การประชุมมอบนโยบายด้านคุณภาพของนักเรียน
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
รายงาน เรื่อง เด็กปลอด
เพื่อรับการประเมินภายนอก
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
การติดตามประเมินผล ความหมาย การวัดผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ของพนักงานช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับมาตรฐานที่กำหนดไว้ วัตถุประสงค์
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
แนวทางการบริหารของ สพท
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ACTION PLAN THAILAND.
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
การซ้อมแผนไข้หวัด ๒๐๐๙ ในโรงเรียน. เป้าหมายของการประชุมกับ โรงเรียน คุณครู..... ได้รับความรู้และเกิดความตระหนักต่อ ปัญหาของไข้หวัด 2009 จากการบรรยาย (
การจัดการ องค์กร อาชญากรรม สัตว์ป่าและพืช ป่า กลุ่ม 4.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประเด็น 22 ก.พ. 55 ปรัปปรุงห้องประชุมให้พร้อมรับแขกมาเยือน (อาทิ ทำ Chart สถิติ ข้อมูล ติด LCD ในห้องประชุม ฯลฯ) ต้องทบทวนคำสั่งต่าง ๆ จากการเปลี่ยนรองจาก.
มาตรฐานการควบคุมภายใน
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
ฝ่ายกิจการนักเรียน โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย แผนกมัธยม
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การตรวจความปลอดภัย วัตถุประสงค์การตรวจความปลอดภัย
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์ ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์ (ศอ.จร.ภ.จว.บุรีรัมย์)

โครงการสร้างมาตรการองค์กร ในการส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100% โครงการสร้างมาตรการองค์กร ในการส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100%

มาสร้างมาตรการรณรงค์เพิ่มอัตรา การสวมหมวกกันน็อกกันเถอะ มาสร้างมาตรการรณรงค์เพิ่มอัตรา การสวมหมวกกันน็อกกันเถอะ 6 ขั้นตอนการดำเนินการภายในองค์กร

ขั้นตอนที่ 1 การวางแผน และเตรียมทีมงาน ตั้งคณะทำงาน กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดเป้าหมาย กำหนดดัชนีผลการปฏิบัติงาน

ขั้นตอนที่ 2 ระดมสมองหาทางแก้ไข ประเมินสถานการณ์อุบัติเหตุภายใน องค์กร - สำรวจ ประเมิน วิเคราะห์ สถานการณ์หมวกกันน็อค สังเกต พฤติกรรมการขับขี่ของพนักงาน กำหนดแรงจูงใจและบทลงโทษที่ ชัดเจนสำหรับพนักงาน ที่ไม่สวม หมวกนิรภัย อาทิ - จัดประกวดแผนก/ฝ่าย/บุคคลต้นแบบ ภายในองค์กรพร้อมมอบรางวัล

- หากพนักงานผู้ขับขี่ และผู้ซ้อน ท้ายไม่สวมหมวกนิรภัยจะไม่อนุญาตให้ นำรถเข้ามาจอดภายในองค์กร หากไม่ ปฏิบัติตามจะโดนว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ บำเพ็ญประโยชน์ หรือมี ผลต่อการขึ้นเงินเดือน - หากถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุมจาก การไม่สวมหมวกนิรภัย จะถูกส่งเข้า อบรมให้ความรู้จากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น ตำรวจ ขนส่งจังหวัด เป็นต้น - เก็บข้อมูลบันทึก”จำนวนครั้ง”ของ การไม่สวมหมวกนิรภัย แล้วค่อยเพิ่ม บทลงโทษตามจำนวนของการกระทำ ความผิด ที่ส่งผลต่อการประเมิน ความก้าวหน้า หรือเหตุจูงใจอื่นที่ตรง กับความเป็นจริง

ขั้นตอนที่ 3 จัดสัมมนา ประชุมชี้แจง ก่อนเริ่มใช้นโยบาย หรือบทลงโทษในการปฏิบัติจริง ควรจัด สัมมนา ประชุมชี้แจงพนักงานว่าองค์กรตระหนักถึงปัญหาการ ไม่สวมหมวกนิรภัยของพนักงาน เน้นย้ำถึงความห่วงใยที่มีต่อพนักงาน ในงานอบรมควรมี กิจกรรมและการสนับสนุนเล็กๆ น้อยๆ เพื่อกระตุ้นให้ พนักงานเห็นความสำคัญของนโยบายดังกล่าว เช่น - มีการแลกเปลี่ยนเรื่องเล่าจากผู้เคยประสบอุบัติเหตุ ร้ายแรงเพราะไม่สวมหมวกนิรภัย เพื่อเป็นอุทาหรณ์ - มีการแจก/ขายหมวกนิรภัยในราคาถูกสำหรับพนักงาน

ขั้นตอนที่ 4 กระบวนการดำเนินการ จัดเจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัยคอยดูแล ตักเตือนให้พนักงาน สวมหมวกนิรภัยอย่างถูกต้อง ที่ประตูทางเข้า-ออกขององค์กร หากทำได้ควรเพิ่มตำแหน่ง”ผู้ตรวจจับ” เพื่อให้มีหน้าที่ในการจับ หรือตักเตือนเพื่อลดแรงต้านที่พนักงาน นักเรียน นักศึกษา มีต่อ เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย บันทึกภาพและข้อมูลผู้ไม่สวมหมวกนิรภัย กระทำผิดกฎหมายใน องค์กร ส่งให้คณะทำงานป้องกันอุบัติเหตุเป็นประจำทุกสัปดาห์ จะได้รู้ว่าใครทำผิด ใครทำดี แล้วแจ้งเวียนภาพถ่ายและรายชื่อ ผู้กระทำผิดให้หัวหน้าแผนก/ฝ่ายต่างๆ ที่เป็นต้นสังกัดดำเนินการ ตักเตือน หรือลงโทษตามมาตรการ

คณะทำงานป้องกันอุบัติเหตุร่วมประชุม กับเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้ ปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดไว้ ติดตั้งกล้อง CCTV หรือกล้องวงจรปิด เก็บภาพพนักงานที่ทำผิดเป็นหลักฐาน เพื่อลดการปะทะกันระหว่างพนักงานและ เจ้าหน้าที่ในกรณีที่พนักงานไม่ยอมรับ ความผิดของตน นอกจากการจับ ปรับ ทำโทษ ยังมี กิจกรรมอื่นๆที่สามารถทำควบคู่กันไปได้ ด้วย เพื่อช่วยสนับสนุนการรณรงค์สวม หมวกนิรภัย เช่น

- ส่งเสริมให้ตรวจสภาพรถจักรยานยนต์ของพนักงานเดือนละ 1 ครั้ง หากพบความผิดปกติให้สั่งซ่อมทันที - จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะการขับขี่ปลอดภัย กิจกรรมวันรณรงค์ภายในและภายนอกองค์กร กิจกรรมที่ส่งเสริมให้คนมองเห็นความสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุร่วมกัน - จัดอบรมบุคลากรจากแผนก/ฝ่ายต่าง ๆ ในองค์กร เพื่อเป็นแกนนำช่วยเฝ้าระวังการป้องกันอุบัติเหตุ

ขั้นตอนที่ 5 ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ภายนอกองค์กร เช่น ขอให้ตำรวจตั้ง จุดตรวจบังคับใช้กฎหมายบริเวณหน้า องค์กร หรือในบริเวณใกล้เคียง เมื่อ พนักงานกระทำความผิดกฎหมายจราจร ขอให้เจ้าหน้าที่ตำรวจส่งรายชื่อให้ คณะทำงานป้องกันอุบัติเหตุขององค์กร ทราบ เพื่อดำเนินการทางวินัยหรือใช้ ประกอบการพิจารณาความดีความชอบ ต่อไป ขอความร่วมมือให้พนักงานนำภาพถ่าย ครอบครัวติดตัวไว้ขณะขับขี่เพื่อเตือนสติ ไม่ให้ประมาท

ขั้นตอนที่ 6 ติดตามประเมินผล เพื่อให้พนักงานให้ความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง จนกระทั่ง เปลี่ยนพฤติกรรมได้ จะต้องสร้างแรงกระตุ้นให้ตระหนักถึง ความสำคัญของการสวมหมวกนิรภัยบ่อยๆ และหามาตรการ เสริมเพื่อจูงใจให้ยังใส่หมวกนิรภัยต่อไป ติดตามประเมินผล โดยการสำรวจตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เช่น ยอดผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากรถจักรยานยนต์ ยอดจำหน่าย หมวกนิรภัยรอบๆ องค์กรแล้วนำมาเปรียบเทียบกับปริมาณที่ สำรวจไว้ในตอนแรกจะได้รู้ว่ามาตรการของเรามีประสิทธิภาพ ขนาดไหน และควรพัฒนาต่อไปอย่างไรเพื่อให้ตอบ วัตถุประสงค์และเป้าหมายได้ตรงที่สุด

จบแล้วครับ