โครงการฟันเทียมพระราชทาน และรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบริการสุขภาพที่ 12 โดย นพ.อินทร์ จันแดง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan
Advertisements

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Services Plan) สาขาสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ร้อยละ 50 มค. – 31 กค. 54 ช่วง ต่อเนื่อ ง (4,5 00) ร้อยละ 50 (4,5 00) เฉลี่ยจังหวัดละ ราย รายสุดท้าย แล้วเสร็จ 31 กค. 54 เป้าหมายบริการราก ฟันเทียม.
ผลงาน ราย ผลงาน >20 ราย 13 จว. 16 แห่ง ขอนแก่น แพร่ นนทบุรี เชียงราย ลำปาง ปทุมธานี สระบุรี อ่างทอง สงขลา สุราษฎร์ ธานี ภูเก็ต หน่วยที่มี ผลงาน.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สถานการณ์ภาวะตาบอดในประเทศไทย
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
แผนฟื้นฟูผู้ประสพอุทกภัย โครงการสายใยรักแห่ง ครอบครัวในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร.
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
ร้อยละของของเด็กตั้งแต่แรกเกิด - 6 เดือน แรกมีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียวมากกว่า หรือเท่ากับ 60.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ความต้องการ สนับสนุน เพื่อการพัฒนาสาขา สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2557.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ข้อมูลและรายงานทันตสาธารณสุข2558
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แผนการตรวจราชการและนิเทศงานยาเสพติด
กรอบประเด็น คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

  โครงการฟันเทียมพระราชทาน และรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบริการสุขภาพที่ 12 โดย นพ.อินทร์ จันแดง

ผลการดำเนินงาน ฟันเทียมพระราชทาน 1ตค.57-14 มค58 ผลการดำเนินงาน ฟันเทียมพระราชทาน 1ตค.57-14 มค58 จังหวัด เป้าหมาย ผลงาน ราย ร้อยละ ตรัง 460 118 25.65 พัทลุง 352 126 35.80 สงขลา 784 165 21.05 สตูล 150 129 86.00 ปัตตานี 340 82 24.12 ยะลา 250 132 52.80 นราธิวาส 345 98 28.41 เฉลี่ยรวม 2681 850 31.70

ปัจจัยสำเร็จ “ฟันเทียมพระราชทาน” รพ.สต./ศสม.คัดกรองผู้สูงอายุใส่ฟันเทียมให้กับโรงพยาบาล กำหนดตัวชี้วัด ทันตแพทย์ 1 คน ให้บริการใส่ฟันเทียม 10 ราย การพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ภายในเขตบริการที่ 12 ในการให้บริการใส่ฟันเทียม “แบบลดขั้นตอน และมีคุณภาพ” โดย คณะทันตแพทย์ มอ.ร่วมกับสำนักทันตสาธารณสุข มีข้อจำกัด สำหรับหน่วยบริการที่มีประชากรน้อย “สามารถให้บริการครอบคลุมประชากรในพื้นที่”ทำให้หมดกลุ่มเป้าหมายในการให้บริการ แก้ปัญหาโดยการรับสมัครผู้ประสงค์ใส่ฟันจากนอกเขตบริการ

ผลการดำเนินงานโครงการรากฟันเทียม 1ตค.57-14 มค58 ผลการดำเนินงานโครงการรากฟันเทียม 1ตค.57-14 มค58 จังหวัด เป้าหมาย ผลงาน ราย ร้อยละ ตรัง 20 1 5.00 พัทลุง 50 28 56.00 สงขลา 130 0.77 สตูล 30 0.00 ปัตตานี 43 2.33 ยะลา 8 40.00 นราธิวาส เฉลี่ยรวม 313 39 12.46

ปัญหาอุปสรรคโครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ เครื่องมือ – อุปกรณ์ ไม่เพียงพอ ปชช.มีความต้องการทำน้อย(อาจประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง) งานค่อนข้างซับซ้อน มีหลายขั้นตอน (บางขั้นตอนต้องอาศัยทันตแพทย์เฉพาะทาง) คนไข้ไม่มารักษาต่อเนื่อง ตามขั้นตอน (หลายครั้ง/ต้องเดินทางลำบาก /ไม่มีญาตินำพา) ความเชื่อตามหลักศาสนา อิสลาม

ปัจจัยสำเร็จของ จ.พัทลุง ศักยภาพและความพร้อมของผู้ให้บริการ ใน 2 หน่วยบริการ คือ รพ.พัทลุง และ รพ.ควนขนุน - ปี 2555-57 เริ่มด้วย “ยอมรับ กล้าทำ ” และ ต่อมา ทีมผู้ให้บริการ ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการให้บริการ จาก สถาบันทันตกรรม รพ.ชุมชนช่วยในการคัดกรองผู้สูงอายุที่มีข้อบ่งชี้

แนวทางแก้ไขโครงการรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติ 1.การประชาสัมพันธ์ จัดทำไวนิลปชส. สนับสนุนสสจ.และทุกรพ. จัดทำสื่อ สปอตวิทยุ(3ภาษา: ไทยกลาง / ใต้ /ยาวี)และสำเนา สนับสนุน สถานีวิทยุ ทุกจังหวัด / ทุกรพ. ฯลฯ

“ฟันดีใกล้บ้าน ลูกหลานสุขใจ” 2.จัดบริการแบบ Delivery (ไปทำถึงที่รพช.) ; “ฟันดีใกล้บ้าน ลูกหลานสุขใจ” - นัดคนไข้ที่ผ่านการscreen แล้ว มารพ.ที่ใกล้ที่สุดเพื่อ 1. ผ่าตัด ฝังรากฟันเทียม (โดยเชิญทพ. ผู้เชี่ยวชาญศัลย์ มาทำให้) 2. นัดF / U โดยทพ.ในรพช. 3. นัดทำstep อื่นๆที่เหลือ ที่รพ.นั้นๆ โดย ทพ.จากรพช.

3.จัดหลักสูตรอบรม: เพื่อพัฒนาศักยภาพทันตแพทย์ ประจำโรงพยาบาล ทุกแห่งๆละ 1 คน วัตถุประสงค์ 1. สามารถให้การดูแลรักษาตามStep - การทำศัลย์ถัดไป - การทำฟันเทียมสำหรับรองรับรากฟันเทียมได้ 2. ผู้สูงอายุ สามารถรับบริการขั้นตอนที่โรงพยาบาลใกล้บ้านที่สุดได้

ขอบคุณครับ