การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ ดร. ผดุงชัย ภู่พัฒน์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
แนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการศึกษา แนวคิดเกี่ยวกับ การจัดการศึกษา กระบวนการที่มีระบบแบบแผนในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนไปในแนวทางที่พึงประสงค์
พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลง พุทธิพิสัย(Cognitive) จิตพิสัย (Affective) ทักษะพิสัย(Psychomotor)
องค์ประกอบ ของการจัดการศึกษา องค์ประกอบ ของการจัดการศึกษา O : Objective L : Learning Experience E : Evaluation
การวัดผล (Measurement) หมายถึง กระบวนการกำหนดตัวเลขให้กับคุณลักษณะของสิ่งที่จะวัดและวัตถุประสงค์ของการวัด
องค์ประกอบของการวัดผล 1. สิ่งที่จะวัด 2. เครื่องมือวัดหรือเทคนิค/วิธี ในการรวบรวมข้อมูล 3. ข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ บนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ เป้าหมายหลักในการวัดและประเมินการเรียนรู้ การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน ตามจุดประสงค์รายวิชาและหลักสูตร สะท้อนคุณภาพผู้เรียน
วัตถุประสงค์ของการวัด และประเมินผล 1. เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถและ พัฒนาความรู้ความสามารถได้อย่าง เต็มศักยภาพ 2. เพื่อใช้เป็นข้อมูลป้อนกลับให้แก่ ผู้เรียน
วัตถุประสงค์ของการวัด และประเมินผล 3. เพื่อใช้ข้อมูลในการสรุปผลการเรียนรู้ และเปรียบเทียบถึงระดับพัฒนาการของ การเรียนรู้
หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา 1. วัดให้ตรงกับจุดมุ่งหมาย 2. ใช้เครื่องมือดีมีคุณภาพ 3. คำนึงถึงความยุติธรรม 4. การแปลผลให้ถูกต้อง 5. ใชผลของการวัดให้คุ้มค่า
ส ส สวัสดี วั วั ส ส ดี ดี