พว.บุญชนะ กลางเสนา รพ.สต.โคกสว่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทบาท อสม. ในการดำเนินการ“รวมพลัง อสม
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
จังหวัดสุพรรณบุรี. วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เขต มอบนโยบายการจัดทำแผน สุขภาพเขต การประชุมระดับเขต ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๓ – ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๕ แบ่งการ ดำเนินงานออกเป็น.
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
ระบบHomeward& Rehabilation center
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
จากสำนักงานนโยบายและแผน
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
ทองดี มุ่งดี สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กรกฎาคม ๒๕๕๖
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แผนงานดูแลผู้สูงอายุ
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระบบสุขภาพชุมชน : คุณค่า และความดีงาม ๑๓ มีนาคม ๒๕๕๖ มหกรรมกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
คปสอ.เลิงนกทา เป็นองค์กรบริหารด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
หน่วยงานภาครัฐ, อปท. และเอกชนมีสนับสนุน งบประมาณ, ประสานงาน กัน อย่างต่อเนื่องและ เข้มแข็ง ( นาจอมเทียน, บางเสร่, พูลตาหลวง, แสมสาร, สัตหีบ ) มีระบบข้อมูลที่มี
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พว.บุญชนะ กลางเสนา รพ.สต.โคกสว่าง การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วย stroke ในชุมชนโดยใช้ CBL พว.บุญชนะ กลางเสนา รพ.สต.โคกสว่าง

แนวคิดในการให้บริการ HUMANIZED HEALTH CARE เน้นผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางและดูแลเอื้ออาทรประดุจญาติมิตร ดูแลแบบ HOLISTIC CARE Continuing of Care Palliative care

จากการสำรวจ เยี่ยมบ้าน ปี ๒๕๕๖พบผู้ป่วย จำนวน ๑๐ ราย จากการสำรวจ เยี่ยมบ้าน ปี ๒๕๕๖พบผู้ป่วย จำนวน ๑๐ ราย ผู้ป่วย stroke ผู้ป่วย stroke เยี่ยมผู้ป่วย tracheostomy on NG tube , on foley s catheter ผู้พิการทางสายตา นอนอยู่บนเตียงเป็นส่วนมาก

คืนข้อมูลให้ชุมชน ร่วมกันวิเคราะห์หาแนวทางแก้ไข

ดำเนินกิจกรรมตามแนวทาง นายกองค์การบริหารส่วนตำบลร่วมพูดคุย พัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น บูรณาการศูนย์มิตรภาพบำบัดร่วม ให้บริการกายภาพบำบัด เครือข่ายสหวิชาชีพร่วมดูแลผู้ป่วย

แผนภูมินำเสนอผลการดำเนินงาน อาสาสมัครกายภาพบำบัด (เฉพาะเขต รับผิดชอบ รพ.สต.โคกสว่าง) ๑๐

มหกรรมสุขภาพ เครือข่ายร่วมนำเสนอผลงาน ๑๗ บูธ

Stroke fast tract หินเกิ้ง model (แนวทางการดูแลผู้ป่วยในชุมชน) สร้างนักสื่อสารชุมชน

ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้ป่วย ต้องมีกำลังใจที่ดี มีความอดทน ฝึกบริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ อาสาสมัคร มีจิตใจดี รักในงาน ขยัน มีใจเมตตา อดทน เสียสละ Caregiver มีความอดทน เสียสละ รู้จักผ่อนคลาย Health worker มีการติดตามอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริม empowerment ทั้ง caregiver and patient Community สนับสนุน สร้างขวัญกำลังใจ ยกย่อง เชิดชู Empowerment พัฒนา สร้าง ให้อย่างต่อเนื่อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุนงบประมาณ ร่วมเยี่ยมบ้าน ผู้บังคับบัญชา ให้กำลังใจ แนะนำ กระตุ้น สนับสนุน

ปัญหาและอุปสรรค โอกาสพัฒนา ปี ๒๕๕๘ - ประชาชนรับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพน้อย ไม่ต่อเนื่อง - สร้างนักสื่อสารชุมชน - การติดต่อสื่อสารระหว่าง นสค. ประชาชน ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ยังไม่ทั่วถึง - จัดทำ sticker สัญญาณอันตรายของการเกิด stroke เบอร์โทรศัพท์ของ นสค. , 1669 - ไม่สามารถประเมินสัญญาณอันตรายของการเกิด stroke ได้ - ความรู้สึกการถูกทอดทิ้ง การต่อสู้อย่างโดดเดี่ยว - พัฒนาศูนย์มิตรภาพบำบัดให้มีศักยภาพในการให้บริการครอบคลุมมากขึ้น - ขวัญและกำลังใจของอาสาสมัคร - ส่งเสริม empowerment ประกาศยกย่อง เชิดชูการทำดีอย่างต่อเนื่อง มอบรางวัลในเวทีวิชาการระดับตำบล ระดับอำเภอ ระดับจังหวัด

THANK YOU FOR ATTENTION

๑. ศึกษาชุมชน ๒. วิเคราะห์สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ๓. สร้างแผนงาน กิจกรรม ๔. ผลลัพธ์ ผลการดูแลกราฟ เวทีวิชาการ แนวทางการดูแลผู้ป่วยในชุมชน ๕. ปัญหา/โอกาสพัฒนา ๖. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ๗. ขอบคุณผู้มีส่วนร่วมทุกท่าน