เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ เมษายน 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมสาธิตการเสนอราคา e-Auction (Sealed Bid ตามระเบียบฯ ปี 2549)
Advertisements

Medication reconciliation
ระบบจัดการคลังข้อสอบส่วนกลาง
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
การเข้าใช้งาน PDX เปิดโปรแกรม Internet Browsers Internet Explorer
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
การค้นหาค่า Impact Factor ของวารสาร ในฐานข้อมูล ISI
การปฏิบัติงานในระบบ e-pension สำหรับส่วนราชการผู้ขอ
การใช้โปรแกรม Hospital Cost Analysis (พัฒนาโดย รศ.นพ.กำจร ตติยกวี)
Google Maps.
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
KM งานบริการยืม – คืน ครั้งที่ 1
การถ่ายทอดองค์ความรู้งานพัสดุ วันที่ 21 มิถุนายน 2556 ณ ห้องบริการคอมพิวเตอร์ ชั้น 2 อาคารสารสนเทศ ตั้งแต่เวลา น. เป็นต้นไป จัดทำโดย ขั้นตอนการแจ้งซ่อม.
ตามคำสั่งของแพทย์ ในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบทะเบียนสมรส และ ระบบทะเบียนการหย่า.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
Medication reconciliation
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
ระบบเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
1. เชื่อมต่อ WiFi หรือ 3G จากนั้นให้เข้าสู่ App Store เพื่อ Download และ ติดตั้งโปรแกรม Linphone.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ประเด็นการตรวจราชการ
โปรแกรมสาธิตการเสนอราคา e-Auction (Sealed Bid ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ) บริษัท สวนกุหลาบ เซอรารี่ ซีล จำกัด สำหรับ ผู้ค้า.
โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ปีงบประมาณ2552
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
การลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่
ระบบโปรแกรมทะเบียนเกษตรกรรายแปลง
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
การพัฒนาโปรแกรม NAPHA EXTENSION
ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน งานปรับปรุงข้อมูลและตั้งเบิก
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน ระบบงานการเงิน
ระบบการส่งต่อผู้ป่วยจิตเวช
การเข้าใช้ Speexx ครั้งแรก Foundation English II
คู่มือการใช้งานโปรแกรมระบบนัดพบตลาดงานเชิงคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2557
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
E-Sarabun.
ระบบติดตามผลการปฏิบัติราชการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
Point of care management Blood glucose meter
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
โดย นางพูลสมัย อ่อนคำหล้า พยาบาล วิชาชีพชำนาญการ ผู้ประสานการส่งต่อเครือข่ายเขต มีนาคม 2553 โดย นางพูลสมัย อ่อนคำหล้า พยาบาล วิชาชีพชำนาญการ ผู้ประสานการส่งต่อเครือข่ายเขต.
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
การใช้โปรแกรมส่งต่อ ThaiRefer
ระบบส่งต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มี คุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ระบบส่งต่อ : มาตรการ : จัดทำระบบส่งต่อภายในเครือข่าย.
คู่มือการใช้งาน โปรแกรม STI.VCT 1.0
Highlight in ThaiRefer version 1.6.
สรุปผลงานโดยย่อ ทีมสหวิชาชีพ เป็นองค์รวม มีส่วนร่วม
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ทำอย่างไรให้ยั่งยืน Referral System : นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี
1 ซอฟท์แวร์ที่ น่าสนใจ จัดทำโดย นางสาวรัชดา ณรงค์ ns B06.
นันท์นลิน นาคะกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ เมษายน 2557
แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
จัดทำโดย นางสุภัสสรา พลซักซ้าย 1 มิถุนายน 2556
แผนผังการปรับปรุงกระบวนการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือแพทย์
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
เพลินพิศ เยาว์พรหมสิริ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบการบันทึกข้อมูลและขอชดเชยการรักษาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบล กองทุนสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น.
เอกรัฐ บูรณถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 7 มีนาคม 2559
Highlight in ThaiRefer v.1.8
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 28-29 เมษายน 2557 Refer Back, Forward, Denial, Quality and Timetable in ThaiRefer เอกรัฐ บูรณะถาวรสม นักวิชาการคอมพิวเตอร์ 28-29 เมษายน 2557

Refer Back มี 2 แบบ คือ Refer Back โดยที่มีการส่งข้อมูล Refer in เข้ามาก่อน  ให้ส่งกลับโดย Search Engine, double click ดูข้อมูลผู้ป่วย, แล้วกดปุ่มส่งกลับในชุดข้อมูลที่ Refer in เข้ามา Refer Back แต่ไม่มีการส่งข้อมูล Refer in เข้ามาก่อน  ให้กดปุ่ม ส่งกลับ บน Menu ด้านซ้ายมือบน

Search Engine

สามารถค้นหาด้วย ชื่อ นามสกุล เลขที่บัตรประชาชน เลขที่ใบส่งตัว สถานพยาบาลต้นทาง

Refer Back (แบบที่มี Refer in เข้ามาก่อน) Pop up ที่ visit รพ.ปลายทาง ส่งกลับจาก ER/OPD ถือว่าเป็นผู้ป่วยนอก กรณีส่งกลับจาก ward ถือเป็นผู้ป่วยใน

Refer back ข้อมูลที่ Refer in และ Refer Back ถูกเก็บเป็นข้อมูลชุดเดียวกัน Refer back Refer in จุดบริการที่ทำการส่งกลับ, สถานพยาบาลที่ต้องการส่งกลับ default อัตโนมัติ กรอกวิธีการเคลื่อนย้าย, การนำส่ง, เหตุผลการส่งกลับ Refer Back

Refer back

จะถูกแนบโดยอัตโนมัติเมื่อทำการ Refer Back ข้อมูลการใช้ยาที่รพ.ปลายทาง ผล Lab ของรพ.ปลายทาง ผล x-ray, CT scan ที่อ่านโดยรังสีแพทย์

ระบบ Refer back พิมพ์ใบส่งกลับ บันทึก

อย่าลืมให้แพทย์เซ็นต์ชื่อและประทับตราโรงพยาบาลด้วยนะคะ ใบส่งกลับ อย่าลืมให้แพทย์เซ็นต์ชื่อและประทับตราโรงพยาบาลด้วยนะคะ

ส่งกลับ สัญลักษณ์แถบสีน้ำตาลในหน้าส่ง

ระบบปฏิเสธการส่งต่อ เหตุผลการปฏิเสธ เตียงเต็ม ไม่มี Respirator มีศักยภาพ แต่แพทย์เฉพาะทางไม่อยู่ เกินศักยภาพของโรงพยาบาลปลายทาง สามารถรักษาที่โรงพยาบาลต้นทางได้ อื่นๆ

ตัวอย่าง : หน้าส่ง ถูกปฏิเสธโดยโรงพยาบาลปลายทาง

แบบประเมินคุณภาพ การส่งต่อ/ระหว่างส่งต่อ

แบบประเมินคุณภาพ การส่งต่อ/ระหว่างส่งต่อ

นำข้อมูลคุณภาพการส่งต่อ มาวิเคราะห์ผลย้อนหลังได้

รายงานการประเมินคุณภาพ

Time table เพื่อวัดประสิทธิภาพการประสานงานแบบองค์รวม เวลาที่ส่งข้อมูลจากต้นทาง = สีเทา เวลาที่ข้อมูลขึ้นเตือนที่ปลายทาง = สีส้มอ่อน เวลาที่ปลายทางเปิดอ่าน = สีเหลือง เวลาที่ประสานงานสำเร็จ = สีฟ้า ตัวอย่าง : การประสานผู้ป่วยสำเร็จ 4 นาที

Time table เพื่อวัดประสิทธิภาพการประสานงานแบบองค์รวม Machine ความเร็ว Internet/ Server เวลาสีส้มอ่อน เวลาสีเทา คุณภาพ/การปฏิบัติงาน ของจนท.ศูนย์ส่งต่อ Manpower เวลาสีเหลือง เวลาสีส้มอ่อน รายละเอียดเพิ่มเติม/ ระบบการ consult เวลาสีฟ้า เวลาสีเหลือง Method เวลาสีฟ้า เวลาสีเทา เวลาที่ใช้ในการประสานงานสำเร็จ Management 4M Analysis

Time table จำแนกตาม Triage (นาที) Manpower

ขอบคุณครับ