รหัส 3200 - 1001 หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
Advertisements

การคลังและนโยบาย การคลัง
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
รหัส หลักการตลาด.
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ระบบเศรษฐกิจ.
“e-Revenue” “ภาษี”เรื่องง่าย ๆ.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
MK201 Principles of Marketing
ผลิตสินค้าและบริการ.
เศรษฐกิจพอเพียง.
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
การวางแผนกลยุทธ์.
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
ตลาดและการแข่งขัน.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 : บทนำ.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
ความหมายที่1 ความหมายที่2 ความหมายที่3
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
ขอบเขตความรับผิดชอบของรัฐบาลท้องถิ่น
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
บทเรียนช่วยสอน วิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ จัดทำโดย ครูธณัชพงษ์ ศักดิ์ชัชวาล มัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา โรงเรียนอุดมดรุณี อ.เมือง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
Knowledge- Base Systems
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ปวสปี 4 รหัส หมวดวิชาชีพพื้นฐาน เรื่องการค้าระหว่างประเทศ
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทบาทของข้อมูลการตลาด
ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
บทที่ 16 ครอบครัว.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัส 3200 - 1001 หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์

สอนโดย อ.ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร.083-9893239 สอนโดย อ.ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร.083-9893239

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์

เศรษฐศาสตร์คืออะไร เศรษฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาหนึ่งของสังคมศาสตร์ เป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ อันได้แก่ กิจกรรมการผลิต การกระจายสินค้าและบริการต่างๆที่ผลิตได้ไปสู่ผู้บริโภคและผู้ใช้บริการ กิจกรรม

บิดาแห่งเศรษฐศาสตร์ คือ อดัม สมิท (Adam Smith) กล่าวว่า “เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยทรัพย์ อันหมายถึงเศรษฐทรัพย์ ถ้าใครมีมากย่อมเป็นผู้มั่งคั่ง อยู่ดีกินดี”

เศรษฐศาสตร์ คือ....... “เศรษฐศาสตร์ (Economics) เป็นวิชาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมเกี่ยวกับการเลือก ปัจจัยการผลิตอันที่มีอยู่อย่างขาดแคลน เพื่อผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ไปบำบัดความต้องการของมนุษย์อันมีอยู่อย่างไม่จำกัด”

แขนงของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1 เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro - economics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยย่อย ๆ ในสังคม 2 เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro economics) เป็นการศึกษาพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของส่วนรวมหรือระดับประเทศ

การสร้างทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ วิธีอนุมาน ศึกษาจากเหตุไปหาผล เป็นการ ศึกษาจากสิ่งที่ไม่รู้ให้กลายเป็นสิ่งที่รู้หรือเป็นจริง วิธีอุปมาน ศึกษาจากผลเพื่อหาสาเหตุ เป็นการ ศึกษาจากสิ่งที่รู้หรือเป็นจริงและค้นหาเหตุผล

หน่วยเศรษฐกิจ หน่วยงานที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ ทำหน้าที่ด้านต่างๆ เกี่ยวกับการผลิต การบริโภค และการจำแนกแจกจ่ายสินค้า องค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจจึงแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ครัวเรือน ธุรกิจ และรัฐบาล

วงจรกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ตลาดสินค้าและบริการ ซื้อสินค้าและบริการ ขายสินค้าและบริการ จ่ายเงินค่าซื้อสินค้าและบริการ รายรับจากการขาย รายจ่าย ผลผลิต สินค้าและบริการ สินค้าและบริการ (ผู้บริโภค) ครัวเรือน (เจ้าของปัจจัยการผลิต) ธุรกิจ (ผู้ผลิต) รัฐบาล ภาษี ภาษี รายจ่าย ปัจจัยการผลิต ค่าใช้จ่ายในการซื้อปัจจัย รายได้จากการขายปัจจัย ขายปัจจัยการผลิต ซื้อปัจจัยการผลิต ตลาดปัจจัยการผลิต

ปัญหาเศรษฐกิจพื้นฐาน (basic economic problem) 1 ผลิตอะไร (what to produce) 2 ผลิตอย่างไร (how to produce) 3 ผลิตเพื่อใคร (for whom )

1.ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม Capitalism รูปแบบระบบเศรษฐกิจ 1.ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม Capitalism - ประชาชนมีสิทธิ์เป็นเจ้าของทรัพย์สินได้อย่างเต็มที่ - ธุรกิจมีเสรีภาพในการประกอบอาชีพ - ใช้ระบบราคา - มีการแข่งขันอย่างเสรี - รัฐไม่ได้เข้าไปควบคุมกิจการต่างๆ

2.ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม Socialism - รัฐเป็นเจ้าของการผลิตและดำเนินกิจการทางเศรษฐกิจที่สำคัญเสียเอง - ประชาชนยังสามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์ได้บ้าง - ระบบราคามีบทบาทน้อยกว่าแบบทุนนิยม - ระบบนี้มี 2 ลักษณะ คือ ระบบสังคมนิยมแบบอ่อน และระบบสังคมนิยมแบบแข็ง

3.ระบบเศรษฐกิจแบบผสม Mixed Economy 1. ประชาชนและธุรกิจมีกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของทรัพย์สินได้อย่างเต็มที่ 2. รัฐจะเข้าไปดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่สำคัญและคนส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ 3. ระบบราคายังคงมีบทบาทสำคัญ แต่ราคาที่เกิดขึ้นอาจจะไม่ได้ถูกกำหนดจากกลไกตลาดอย่างเสรี

กับวิชาอื่น ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์กับบริหาร เศรษฐศาสตร์กับรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์กับนิติศาสตร์

ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ 1 ช่วยให้การดำรงชีวิตประจำวันเป็นไปอย่างมีหลักเกณฑ์และมีเหตุผล 2 เป็นความรู้ขั้นพื้นฐานที่จำเป็นแก่ผู้ประกอบอาชีพธุรกิจ หน่วยธุรกิจสามารถนำความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจได้ดีขึ้น 3 ในด้านของส่วนรวม ถ้าประชาชนมีความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ก็จะสามารถประกอบอาชีพในอันที่จะก่อให้เกิดความเจริญก้าวหน้าแก่ตนเองและส่วนรวม