การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
แผนกลยุกต์การจัดการศึกษาเขตพื้นที่ การศึกษานครพนม เขต 1.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมการศึกษา ดร
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
การปรับตัวและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่อาเซียน
การสัมมนาเพื่อจัดทำแผน ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาเขตภาค กลาง เพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทย วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน 2553 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
ฝ่ายบริหารงานวิชาการ. วิสัยทัศน์ “ เราจะผลิตผู้สำเร็จการศึกษาที่ เปี่ยมด้วยคุณธรรม มีสมรรถนะ วิชาชีพ บนพื้นฐานแห่งองค์กร สร้างสุข เพื่อเป็นบุคลากรทีมี
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ปีงบประมาณ 2555 ของ กระทรวงศึกษาธิการ

การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การเชื่อมโยงบริบททั้งภายในและภายนอก เพื่อ “เท่าทัน และแข่งขันได้” รู้ศักยภาพเขา รู้ศักยภาพเรา การจัดการศึกษาโดยเน้นพื้นที่เป็นฐาน กลาง เหนือ กทม. ใต้ อีสาน สกศ. นโยบายภาพรวม/การวิจัยทางการศึกษา ป.เอก สกอ. วิชาการ/วิจัย ป.โท ป.ตรี เน้นสร้างผู้ประกอบการ วิชาชีพ สอศ. ป.ตรี การบริหารจัดการอย่างบูรณาการ ปวส. ปวช. ยุโรป เอเชีย อเมริกา ป.1 – ป.6 อนุบาล ม.3 - ม.6 ม.1 – ม.3 ทรัพยากร ธรรมชาติ ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ สพฐ. หลักสูตรที่เชื่อมโยงอาชีพ สป. การศึกษาตลอดชีวิต แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ 1. ปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน/โลก 5. การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน 2. การพัฒนาสถานศึกษาและองค์ความรู้ 6. การวิจัยและถ่ายทอดองค์ความรู้ 3. การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ์ 7. การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา 4. การพัฒนาครูทั้งระบบ 8. การส่งเสริมการมีงานทำ 9. การบริหารจัดการกลยุทธ์ของ กท.ศธ. ออสเตรเลีย แอฟริกา วัฒนธรรม ศิลปะ ทรัพยากร มนุษย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ อำนวยการ/เฉพาะทาง 5 แท่งหลักสูตรของ 5 กลุ่มอาชีพ

8 ส่งเสริมการมีงานทำ 1 ประชาคม อาเซียน 2 สถานศึกษาและองค์ความรู้ ยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1 ประชาคม อาเซียน 2 สถานศึกษาและองค์ความรู้ 3 เทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ์ 4 พัฒนาครูทั้งระบบ 5 พัฒนาศักยภาพผู้เรียน 6 วิจัยและถ่ายทอดองค์ความรู้ 7 เพิ่มโอกาสทางการศึกษา 8 ส่งเสริมการมีงานทำ 9 บริหารจัดการกลยุทธ์ ศธ.

วิสัยทัศน์ ภายใน ปี 2555 กระทรวงศึกษาธิการ จะเป็นองค์กรหลักที่ทรงประสิทธิภาพในการผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคลากรของชาติ เพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ดี สร้างความมั่งคั่งทางด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมให้กับประเทศ ด้วยฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และศักยภาพของประเทศ

พันธกิจ พัฒนา ยกระดับ และจัดการศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพ และขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ที่มั่งคั่ง และมั่นคง เพื่อเป็นบุคลากรที่มีวินัย เปี่ยมไปด้วยคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม

กรอบแนวคิด การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ต้องมุ่งเน้น หลักการในการดำเนินงาน ประกอบด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามศักยภาพของพื้นที่ ซึ่งมีความ หลากหลายทางภูมิศาสตร์ และทรัพยากร การพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและอัจฉริยภาพของตนเอง เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนการสร้างอาชีพระหว่างเรียนและเพิ่มรายได้ให้กับครู คณาจารย์ โดยการจัดตั้งกองทุนตั้งตัวได้ เพื่อลดปัญหาหนี้สินครู และเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียนให้คุ้นเคยกับระบบเศรษฐกิจขนาดย่อยสู่เศรษฐกิจขนาดใหญ่เมื่อสำเร็จการศึกษา

กรอบแนวคิด (ต่อ) การพัฒนาครูทั้งระบบสู่การพัฒนาครูมืออาชีพ เพื่อให้ สร้างทรัพยากรบุคคลอย่างมีคุณภาพ ขยายโอกาสการศึกษาให้แก่ผู้เรียนทุกกลุ่ม ด้วยกองทุน กู้ยืมเพื่อการศึกษา เปิดโอกาสให้นักเรียนยากจนสามารถกู้ยืม และชำระคืนเมื่อมีรายได้ถึงเกณฑ์ที่กำหนด นำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการพัฒนาการศึกษา เพื่อให้เกิด การสร้างองค์ความรู้ใหม่ของผู้สอนและผู้เรียน สอดคล้องกับ ความเปลี่ยนแปลงของบริบทสังคมไทย และสังคมโลก

กรอบแนวคิด(ต่อ) ดังนั้น ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาที่ยั่งยืน จึงยึด แนวคิดพื้นฐาน 3 ประการ เพื่อนำหลักการสู่การปฏิบัติ ดังนี้ 1. คำนึงถึงศักยภาพและบริบทตัวผู้เรียน 2. พัฒนาและยกระดับองค์ความรู้ และกระบวนการ เรียน การสอนให้ทัดเทียมอารยะประเทศ ด้วยการบริหาร จัดการ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 3. มุ่งสู่เป้าหมายของการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับศักยภาพในการทำงานให้กับบุคลากรคนไทย ให้แข่งขันได้ในระดับสากล ง

เป้าหมาย เป้าหมายสำคัญเพื่อให้สามารถสร้างคนที่มี ศักยภาพแข่งขันได้ในระดับโลก ดังนี้ ปรับบทบาทการจัดการศึกษาให้ “รู้ศักยภาพ เขา รู้ศักยภาพเรา เท่าทัน และแข่งขันได้” ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี กระทรวงศึกษาธิการ จะสามารถพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ ใน 5 กลุ่ม อาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ ใน 5 ภูมิภาคหลัก ของโลก ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ง

เป้าหมาย (ต่อ) กรอบระยะเวลาของแผน หมายถึง ช่วงเวลาในการดำเนินงาน ตามแผน ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน แบ่งเป็น 2 ช่วงเวลา ได้แก่ 2 ปีแรก หมายถึง ปี พ.ศ.2555-2556(2012-2013) และ 2 ปีหลัง หมายถึง ปี พ.ศ.2557-2558(2014-2015) (AEC 2015) 2 5 ภูมิภาคหลักของโลก หมายถึง ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกา เพื่อให้คนไทย “รู้ศักยภาพเขา” ศักยภาพของพื้นที่ หมายถึง ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศและทำเลที่ตั้ง ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่เพื่อให้คนไทย “รู้ศักยภาพเรา” 5 กลุ่มอาชีพใหม่ หมายถึง กลุ่มหลักสูตรใหม่ ด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และด้านวิชาการและวิชาชีพเฉพาะ เพื่อให้คนไทยสามารถปรับตัว “เท่าทัน และแข่งขันได้” 5

ยุทธศาสตร์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน/ประชาคมโลก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสถานศึกษาและองค์ความรู้ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ์ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาครูทั้งระบบ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การวิจัยและถ่ายทอดองค์ความรู้ 7 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา 8 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 การส่งเสริมการมีงานทำ 9 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 9 การบริหารจัดการกลยุทธ์ของกระทรวงศึกษาธิการ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน/ประชาคมโลก การเป็นศูนย์กลางการศึกษา การวิจัยและพัฒนา และการฝึกอบรมนานาชาติในภูมิภาค (Regional Education Hub) การส่งเสริมความร่วมมือด้านการศึกษากับนานาประเทศ การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการศึกษา การแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างผู้เรียน ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษากับต่างประเทศ การส่งเสริมการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง ตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐาน และการเรียนรู้ภาษาที่สาม และการส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาจัดหลักสูตรนานาชาติ หรือหลักสูตรสมทบร่วมกับสถาบันต่างประเทศ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การพัฒนาสถานศึกษาและองค์ความรู้ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ให้สอดคล้องต่อบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลก ตามศักยภาพของแต่ละพื้นที่ทั่วประเทศ ตามอัจฉริยภาพของผู้เรียนในแต่ละวิชาชีพ สร้างความเชื่อมโยงการศึกษาในทุกระดับ ให้ได้ผลผลิตเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า มีงานทำ มีขีดความสามารถสูง เป็นกำลังสำคัญของประเทศเพื่อแข่งขันได้ในเวทีสากล

ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาเทคโนโลยีและเครื่องมืออุปกรณ์ จัดให้มีเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่อการจัดการศึกษา นำเทคโนโลยีชั้นสูงสนับสนุนการวิจัย การถ่ายทอดความรู้ และการเรียนรู้ในแต่ละระดับให้มีคุณภาพ เพื่อผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ เกิดการผลิตองค์ความรู้ใหม่ และเป็นการเพิ่มช่องทางในการแบ่งปัน และส่งมอบองค์ความรู้อย่างทั่วถึง

ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การพัฒนาครูทั้งระบบ เปิดโอการให้ครูได้พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่ทันสมัย สามารถปรับวิทยฐานะ เพิ่มจำนวนผู้สอน ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรม เข้ามาเป็นผู้สอนได้ รวมถึงการกย่องและเชิดชูเกียรติครู ทั้งครูในระบบ และนอกระบบ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน จัดให้มีนโยบายด้านหลักสูตรการศึกษา เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในสาขาที่รัก และถนัด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการพัฒนาตนเอง

ยุทธศาสตร์ที่ 6 : การวิจัยและถ่ายทอดองค์ความรู้ ส่งเสริมการวิจัยเชิงบูรณาการ เพื่อพัฒนาการศึกษาและเรียนรู้ เพื่อพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ ที่ตอบสนองความต้องการของพื้นที่

ยุทธศาสตร์ที่ 7 : การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา มุ่งลดช่องว่างการเข้าถึงการศึกษา และองค์ความรู้ สร้างทางเลือกทางการศึกษา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

ยุทธศาสตร์ที่ 8 : การส่งเสริมการมีงานทำ สนับสนุนให้สถานศึกษาสามารถประกอบธุรกิจตามศักยภาพของพื้นที่ โดยบทบาทของสถานศึกษาจะแตกต่างกันในห่วงโซ่อุปทาน (SCM) ตั้งแต่ระบบการผลิต ระบบการตลาด และการจัดจำหน่าย ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับสากล โดยให้ขึ้นอยู่กับศักยภาพของโรงเรียน และศักยภาพของพื้นที่นั้นๆ

ยุทธศาสตร์ที่ 9 : การบริหารจัดการกลยุทธ์ของกระทรวงศึกษาธิการ ปรับโครงสร้างการบริหารภายในกระทรวงศึกษาธิการเพื่อให้เกิดการทำงาน แบบบูรณาการหน่วยงานภายใน ภายนอกกระทรวงฯ ทั้งภาครัฐและเอกชน ร่วมจัดทำยุทธศาสตร์รายจังหวัด โดยจัดแบ่งพื้นที่และกำหนดผู้รับผิดชอบตามภูมิภาคอย่างชัดเจน และมีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การศึกษาชาติที่บูรณาการมากยิ่งขึ้น

โครงการสำคัญ (Flagship) 1 โครงการกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครู 2 โครงการกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) 3 โครงการกองทุนตั้งตัวได้ 4 โครงการครูคลังสมอง 5 โครงการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติ 6 โครงการวิจัยศักยภาพพื้นที่ 7 โครงการปฏิรูปเงินเดือนและค่าตอบแทน

โครงการสำคัญ (Flagship) (ต่อ) โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการจัดการศึกษาตั้งแต่แรกเกิดจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 8 9 โครงการพัฒนาผู้นำตามธรรมชาติ 10 โครงการเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Ned Net) 11 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 12 โครงการเทียบระดับการศึกษา 13 โครงการจัดการเรียนการสอนโดยใช้คอมพิเตอร์แท็บเล็ต 14 1 อำเภอ 1 ทุน 15 โครงการถ่ายทอดผลงานวิจัย

โครงการสำคัญ (Flagship) (ต่อ) โครงการมัธยมศึกษาเชิงปฏิบัติการ 16 17 โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมโลก 18 โครงการพัฒนาระบบบริหารวิสาหกิจเพื่อการศึกษา 19 โครงการพัฒนาการศึกษาผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 20 โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน