ประชาคมอาเซียนกับข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
Advertisements

ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
กระแสโลกาภิวัตน์กับบทบาทด้านการคลัง (9-1-55)
ระบบส่งเสริมการเกษตร
วันพฤหัสบดีที่ 13 กุมภาพันธ์ 2557 โรงแรมพลูแมน บางกอก คิงเพาเวอร์
แผนยุทธศาสตร์เพื่อการเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แผนแม่บทงานวิจัย การสร้างเครือข่าย และการสนับสนุนงานวิจัยเชิงพาณิชย์
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การขับเคลื่อนภาคการเกษตร สู่ประชาคมอาเซียน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
วันพุธที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔. ๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๑ ศาลาว่าการ กระทรวงมหาดไทย การประชุมคณะกรรมการเตรียม ความพร้อมของ กระทรวงมหาดไทยในการรวมตัว เป็นประชาคมอาเซียน.
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ Innovation and Information Management
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
Dr. Panu Sittiwong Uttaradit Rajabhat University
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
วัตถุประสงค์ และผลผลิตหลักโครงการ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
Strategy Map สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โดย...นายประเสริฐ ดอยลอม หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
สรุปการประชุมระดมความคิด
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
จำนวนคณะกรรมาธิการที่ส่งประเด็น ณ วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา น. คณะกรรมาธิการปฏิรูปจำนวน - การเมือง20 - การบริหารราชการแผ่นดิน11 - กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม12.
วิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้าน วิชาการ รับใช้ สังคม 50 ของเอเชีย เป้าหมาย ร่วมพัฒนาพื้นที่และประเทศอย่างยั่งยืน จัดการศึกษา มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัย.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
นโยบายรัฐบาล (16+9) และยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy)
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
5.1 การส่งเสริมการนำ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาใช้ใน การพัฒนาประเทศ (3, ล้าน บาท ) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็น โดยเร่งจัดตั้งอุทยาน.
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ IMT - GT ในภาพรวม และ Best Practice IMT – GT Plaza แห่งแรก โดย นายสุกิตติ ธนพิทักษ์ หัวหน้าสำนักงานจังหวัดสงขลา.
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
RNN Thailand Open Platform “ คนไทยทุกคนเป็นเจ้าของการปฏิรูป ”
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประชาคมอาเซียนกับข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.ญาดา มุกดาพิทักษ์ รองเลขาธิการ รักษาการแทน เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) การสัมมนาเรื่อง “จะใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนำพาไทยสู่อาเซียนได้อย่างไร” จัดโดย คณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สภาผู้แทนราษฎร 22 กุมภาพันธ์ 2556

เค้าโครงการบรรยาย บทบาทของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย สวทน.ในการขับเคลื่อนความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ระดับอาเซียน ข้อริเริ่มกระบี่กรอบความร่วมมือด้าน วทน. ของอาเซียน ยุทธศาสตร์ประเทศและแผนงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

กรอบความร่วมมือด้าน วทน. ของอาเซียน ที่มา: สำนักงานเลขาธิการอาเซียน (www.aseansec.org)

AMMST COST SCB SCFST SCIRD SCMG SCMIT SCMSAT SCMST SCNCER SCOSA โครงสร้างองค์กรของคณะกรรมการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาเซียน ASEAN Committee on Science and Technology (COST) AMMST COST Sub-Committees Advisory Bodies ABASF ABAPAST Cooperation with Dialogue Partners ASEAN Ministerial Meeting on Science and Technology Advisory Body on t he ASEAN Science Fund Advisory Body on the ASEAN Plan of Action on Science and Technology TTF-TW TWG-NPP Technical Task Force on Tsunami Warning Technical Working Group on Nuclear Power Plant ASEAN Committee on Science and Technology SCB SCFST SCIRD SCMG SCMIT SCMSAT SCMST SCNCER SCOSA SCB: Sub-Committee on Biotechnology SCFST: Sub-Committee on Food Science and Technology SCIRD: Sub-Committee on Infrastructure and Resources Development SCMG: Sub-Committee on Meteorology and Geophysics SCMIT: Sub-Committee on Microelectronics and Information Technology SCMSAT: Sub-Committee on Marine Science and Technology SCMST: Sub-Committee on Material Science and Technology SCNCER: Sub-Committee on Non-Conventional Energy Research SCOSA: Sub-Committee on Space Technology and Applications สวทน. ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทน วท.ใน ABAPAST

การขับเคลื่อนความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน การขับเคลื่อนความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ในระดับอาเซียน โดย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ผ่านมาอาเซียนไม่มีทิศทางและแผนงานทางด้าน วทน. ที่มีเอกภาพ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย สวทน. ได้ผลักดันให้ประเทศไทยมีความริเริ่มและเป็นผู้นำทางด้าน วทน. ของอาเซียน โดยการริเริ่มให้มีการจัดทำ “ข้อริเริ่มกระบี่ (Krabi Initiative)” เมื่อเดือนธันวาคม 2553 ข้อริเริ่มกระบี่ดังกล่าวได้รับฉันทามติเห็นชอบจากรัฐมนตรีวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของทั้ง 10 ประเทศ และปัจจุบันถือเป็น blueprint ที่สำคัญที่ทุกประเทศสมาชิกยึดถือเป็นแนวทางในการสร้างความร่วมมือ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขัน และยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวอาเซียนด้วย วทน. การมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนปฏิบัติการข้อริเริ่มกระบี่เป็นประโยชน์ต่อการวางนโยบาย วทน. ของไทยที่จะมีต่อประชาคมอาเซียน และเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีความชัดเจนในกำหนดท่าที (positioning) ในการผลักดัน วทน. ในภูมิภาค

The Krabi Retreat in December 2010 initiated by Thailand Participants are STI policy makers, national economic planners and industry representatives from ASEAN countries and the ASEAN Secretariat.

ข้อริเริ่มกระบี่ (Krabi Initiative) กรอบความร่วมมือด้าน วทน เป้าหมาย: พัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขัน และยกระดับคุณภาพชีวิตของ ชาวอาเซียนด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ข้อเสนอแนะ ความร่วมมือรายสาขา (Thematic Tracks) นวัตกรรมอาเซียน สู่ตลาดโลก สังคมดิจิทัล สื่อใหม่ และเครือข่ายสังคม เทคโนโลยีสีเขียว ความมั่นคง ทางอาหาร ความมั่นคง ทางพลังงาน การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ วทน. เพื่อการ เรียนรู้ตลอดชีวิต การปรับกระบวนทัศน์การทำงาน (Paradigm Shifts) การปลูกฝังวัฒนธรรม วทน. ให้ความสำคัญกับประชาชนรากหญ้า ส่งเสริมนวัตกรรมระดับเยาวชน พัฒนา วทน. เพื่อสังคมน่าอยู่ สร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ-เอกชน การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหน่วยงานด้าน วทน. ที่เกี่ยวข้องในอาเซียนเพื่อความสำเร็จตามเป้าหมาย สิ่งที่ต้องทำ (Courses of Action) พัฒนากลไกเพื่อสร้างความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียในการพัฒนาและส่งเสริม วทน. นำข้อเสนอแนะข้อริเริ่มกระบี่ไปปรับปรุงแผนปฏิบัติการอาเซียนด้าน วทน. 2555-2558 และพัฒนาแผนฉบับต่อไป สร้างกลไกติดตามและประเมินผลการปฏิบัติรายสาขา การดำเนินการตามแผนปฏิบัติการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการดำเนินการแผนการจัดตั้งประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน 7

แนวคิดใหม่ในการปรับกระบวนทัศน์การทำงาน (Paradigm Shifts) ของข้อริเริ่มกระบี่ การปลูกฝังวัฒนธรรมด้าน วทน. การให้ความสำคัญกับประชาชนในระดับรากหญ้า การส่งเสริมนวัตกรรมระดับเยาวชน การพัฒนา วทน. เพื่อสังคมน่าอยู่ การสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ร่วมพัฒนาระบบนิเวศนวัตกรรมทุกระดับ สนับสนุนส่งเสริมพลเมืองที่ประสบความสำเร็จด้าน วทน. ให้โดดเด่น เป็นแบบอย่างของคนรุ่นหลัง พัฒนามนุษย์และคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะระดับรากหญ้า ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของอาเซียน เน้นโจทย์ความต้องการพื้นฐาน เช่น อาหาร ที่อยู่อาศัย สุขภาพ จัดให้มีมาตรการส่งเสริมนวัตกรรมระดับเยาวชน อาทิ การมอบรางวัล Young ASEAN STI Awards การแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศ และการให้ทุนสนับสนุนการสร้างสรรค์นวัตกรรมของเยาวชน ส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเขียว (Green Innovation) อาเซียน เพื่อก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำ เจรจาเชิงรุกและการสร้างฐานความร่วมมือใหม่ 8

สวทน. ได้รับมอบหมายจาก COST ให้ร่วมกับประธาน ABAPAST และสำนักงานเลขาธิการอาเซียน จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายแนวทางการขับเคลื่อนข้อริเริ่มกระบี่และการจัดทำแผนปฏิบัติการความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของอาเซียนฉบับต่อไป

Agreed Decisions of COST-64 30 November 2012 Jerudong, Brunei Darussalam Reorganisation and Re-Structuring of COST Clusters shall be established to act as “business centres” to support the implementation of the Krabi Initiative thematic tracks. The following clusters, for example, could be created according to the thematic tracks of the Krabi Initiative: Cluster 1: Green Technology, Water Technology, and Food Security Cluster 2: STI for Life and the Global Market Cluster 3: Digital Economy Cluster 4: Energy and Biodiversity Establishment of an ASEAN Innovation Fund (AIF) An ASEAN Innovation Fund (AIF) shall be established to support the implementation of science-, technology- and innovation-driven projects that will be consistent with the new APAST 2016-2020.

การขับเคลื่อนข้อริเริ่มกระบี่ที่ผ่านมา โดยประเทศไทย การขับเคลื่อนข้อริเริ่มกระบี่ที่ผ่านมา โดยประเทศไทย

BANDAR SERI BEGAWAN PLAN OF ACTION TO STRENGTHEN THE ASEAN-EU ENHANCED PARTNERSHIP (2013-2017) Promoting Cooperation in Science and Technology (S&T) Continue dialogue between Committee of Science and Technology (COST) and the EU to promote cooperation in research and technology and innovation under the Framework Programme 7 (FP7) and its successor programme “HORIZON 2020”. Strengthen ASEAN-EU dialogue in the field of R&D including in applied S&T, as well as to reinforce the policy dialogue; Support ASEAN to establish a network of S&T centres of excellence to promote closer cooperation, sharing of research facilities, technology transfer and commercialisation, and technology development, including joint programmes to promote science technology and innovation in vocational education through work-integrated learning; Facilitate the exchange and mobility of scientists and researchers in accordance to the respective laws, rules, regulation, and national policies; and Promote the implementation of the eight Thematic Tracks of the Krabi Initiative as a strategic platform for ASEAN-EU Science, Technology and Innovation (STI) cooperation.

Thailand-Lao PDR STI Cooperation on ASEAN Krabi Initiative 1. STI Policy Cooperation Development/Monitoring/Evaluation of STI Policy HRD Exchange Programme 2. Water Resource Management Community Water Management Telemetry and Satellite Imagery for Flood Monitoring 3. Agriculture and Agro-Based Industry Technology Need Assessment for Climate Change Adaptation and Mitigation Breeding and Genetic Engineering Training Programme 4. STI Education and Enculturation Science Awareness and Science Communication Programme Science Village Programme 5. Public-Private Partnership (PPP) Programme STI Consultation Service for SMEs R&D Cooperation in Renewable Energy Pilot STI Community - Electricity Production from Small Hydro Power http://sti.or.th/thai-laoPDR-STIWorkshop

Water Resource Manage-ment Integrated Foresight for Sustainable Economic Development and Eco-Resilience in ASEAN Countries APEC Center for Technology Foresight Use the Krabi Initiative as a platform to develop foresight scenarios of ASEAN by 2015 and Demonstrate how foresight coupled with sustainable economic and ecological choices can create: • Inclusive innovation that addresses bottom-of-the-pyramid issues; • Societal resilience for coping with systemic stress associated with management of scarce resources (e.g. food, water, land); • Knowledge-intensive services for local economic development in economically disadvantaged communities; • Agendas of new economic and technical opportunities. ASEAN Innovation Green Technology Food Security Energy Security Water Resource Manage-ment

Workshop on Krabi Initiative Policy Dialogue on Science, Technology and Innovation (STI) Strengthening the ASEAN Community through STI Collaboration 9-10 November 2012 United Nations Conference Centre and Royal Princess Larn Luang Hotel Bangkok, Thailand www.sti.or.th/kiworkshop

รู้เรารู้เขารู้โลก (Work-in Progress) Source: A. Degelsegger, STI Office, 2013

Bibliometric Analyses วิเคราะห์ใครเก่งอะไร และโอกาสสำหรับไทย รู้เรารู้เขารู้โลก (Work-in Progress) Bibliometric Analyses วิเคราะห์ใครเก่งอะไร และโอกาสสำหรับไทย Source: A. Degelsegger, STI Office, 2013

Bibliometric Analyses วิเคราะห์ใครเก่งอะไร และโอกาสสำหรับไทย รู้เรารู้เขารู้โลก (Work-in Progress) Bibliometric Analyses วิเคราะห์ใครเก่งอะไร และโอกาสสำหรับไทย Source: A. Degelsegger, STI Office, 2013

ยุทธศาสตร์ประเทศและแผนงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

ความเป็นมา

Country Strategy New Growth Model สร้างฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืน หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง Growth & Competitiveness คน/คุณภาพชีวิต/ความรู้/ยุติธรรม โครงสร้างพื้นฐาน/ผลิตภาพ/วิจัยและพัฒนา ปรับ Internal Process ระบบงาน/กำลังคนภาครัฐ/งบประมาณ เป็นมิตรต่อสิ่งแวด ล้อม Inclusive Growth ลดความเหลื่อมล้ำ Green Growth กฎระเบียบ

New Growth Model : Goals in 10-15 years หลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง รายได้ต่อหัว/ปี GNI จาก 4,420 USD เป็น 12,400 USD การขยายตัวของ GDP จาก 4.2 เป็น 5.0-6.0 การลงทุนด้าน R&D/GDP จาก 0.24 % เป็น 1 % ลดความเหลื่อมล้ำ GNI coefficient or GINI index จาก 0.476 เป็น ≤ 0.40 SMEs contribution to GDP จาก 36.6% เป็น > 40% ปีการศึกษาเฉลี่ย/ อ่านเขียนได้ จาก 8.2 ปี / 93.1% เป็น 15 ปี /100 % เป็นมิตรต่อสิ่งแวด ล้อม ลดการปลดปล่อย GHG ในภาคพลังงาน จาก 3.3 ตัน/คน/ปี(2553) จะเป็น 5 ตัน/คน/ปี(ใน10 ปี) เป็น 4 ตัน/คน/ปี เพิ่มพื้นที่ป่าไม้ (% ของพื้นที่) จาก 33.6% เป็น 40% GNI=Gross National Income per capita GNI coefficient or GINI index

GROWTH & COMPETITIVENESS NEW GROWTH MODEL แนวยุทธศาสตร์และนโยบายที่ต้องบูรณาการ รวม 28 ประเด็น GROWTH & COMPETITIVENESS INCLUSIVE GROWTH GREEN GROWTH INTERNAL PROCESS ด้านเกษตร ภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและบริการ โครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน การเชื่อมโยงเศรษฐกิจในภูมิภาค การปรับขีดความ สามารถในการแข่งขัน การวิจัยและพัฒนา การพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา การยกระดับคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข การดูแลผู้สูงอายุ เด็ก สตรี และผู้ด้อยโอกาส การสร้างโอกาสและรายได้ แก่ SMEs และเศรษฐกิจชุมชน แรงงาน ระบบยุติธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ การต่อต้านการคอร์รัปชั่น สร้างธรรมาภิบาลและความโปร่งใส การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การลดการปล่อย GHG นโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและบริหารจัดการน้ำ การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ กรอบแนวทางและการปฏิรูปกฎหมาย การปรับโครงสร้างระบบราชการ การพัฒนากำลังคนภาครัฐ การปรับโครงสร้างภาษี การจัดสรรงบประมาณ การพัฒนาสินทรัพย์ราชการที่ไม่ได้ใช้งานให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความมั่นคงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ การปฏิรูปการเมือง 8.1) เพิ่มการลงทุน R&D/GDP เป็น 1% 8.2) Talent Mobility การใช้ประโยชน์จากกำลังคนด้าน ว. และ ท. 8.3) การใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค วท. เป็นเจ้าภาพ 24

การประชุมเชิงปฏิบัติการ การบูรณาการแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศ และ แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ครั้งที่ 3 วันจันทร์ที่ 7 มกราคม 2556 เวลา 14.00-17.00 น. ณ ตึกสันติไมตรีหลังนอก ทำเนียบรัฐบาล

ยุทธศาสตร์ประเทศ และ ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน Growth & Competitiveness การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของ สินค้า บริการและการลงทุน การเสริมสร้างความมั่นคง โครงสร้างพื้นฐาน/ผลิตภาพ/วิจัยและพัฒนา การพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ คน/คุณภาพชีวิต/ความรู้/ยุติธรรม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ ปรับ Internal Process ระบบงาน/กำลังคน/งบประมาณ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน Green Growth Inclusive Growth การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็น ประชาคมอาเซียน การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม กฎระเบียบ

การบูรณาการยุทธศาสตร์ประเทศ กับยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ก่อนบูรณาการ หลังบูรณาการ ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Strategy) ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country Strategy) 4 ยุทธศาสตร์ 1. Growth & Competitiveness 2. Inclusive Growth 3. Green Growth 4. Internal process → 28 ประเด็นหลัก → 56 แนวทางการดำเนินการ 8 ยุทธศาสตร์ การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของ สินค้า บริการและการลงทุน การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนากฎหมาย กฎ ระเบียบ การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงการเป็น ประชาคมอาเซียน การเสริมสร้างความมั่นคง การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน 4 ยุทธศาสตร์ (ผนวกรวมประเด็นอาเซียนแล้ว) 1. Growth & Competitiveness 2. Inclusive Growth 3. Green Growth 4. Internal process → 30 ประเด็นหลัก → 79 แนวทางการดำเนินการ วท. เป็นเจ้าภาพ 8.4 การขับเคลื่อนข้อริเริ่มกระบี่ตามกรอบความร่วมมืออาเซียน 27

ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ สร้างงาน 2. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ สร้างรายได้ 3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ สร้างอนาคต 4. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ เพื่อชีวิต 5. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ สร้างฐานความรู้ ประกอบด้วย แผนงาน 47 value chains http://valuechain.most.go.th/ 28

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้างรายได้ สร้างงาน ข้าว ข้าวโพด ปาล์ม พืชผัก (พริก มะเขือเทศ และกลุ่มแตง) มันสำปะหลัง ไม้สัก ยาง อ้อย ลำไย กุ้ง ไก่ โคนม หมู วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้างรายได้ นวัตกรรมครัวไทยสู่ครัวโลก เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ด้วยเทคโนโลยีซอฟแวร์ และสารสนเทศดิจิทอล ยกระดับ SMEs ไทยในการสร้างและทดสอบเครื่องจักรอัตโนมัติเพื่ออุตสาหกรรมผลิต Hard Disk Drive การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การขยายผลการผลิตพลังงานและผลิตภัณฑ์จากชีวมวล โรงงานผลิตปุ๋ยโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีชั้นสูง โครงการสร้างธุรกิจนวัตกรรมแก่ SMEs เพื่อการแข่งขันในระดับอาเซียน การยกระดับความสามารถผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ไทย เพื่อรักษาฐานการผลิตรถยนต์ การยกระดับอุตสาหกรรมไทยเพื่อรองรับการผลิตชิ้นส่วนรถไฟและระบบราง การจัดตั้งเขตพื้นที่พัฒนานวัตกรรมบริการสุขภาพแนวใหม่ในประเทศไทย (Medicopolis) การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สิ่งทอโดยใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ห้องปฏิบัติการเพื่อการควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า การเพิ่มมูลค่าและความปลอดภัยของอาหารแปรรูปไทยสู่ระดับสากล อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้างอนาคต การควบคุมการใช้สารรังสีเพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อประชาชน ความหลากหลายทางชีวภาพ: การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์และผลิตภัณฑ์ การเพิ่มผลผลิตและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรด้วยเทคโนโลยีนิวเคลียร์ การวิจัยรังสีเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศไทย การจัดตั้งสถาบันศึกษานิวเคลียร์ชั้นสูงเพื่อแก้ไขการขาดแคลนบุคลากรนิวเคลียร์ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพและอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเร่งฟื้นฟูระบบนิเวศที่เสียหาย การพัฒนาระดับโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม และการเกษตรในระดับนาโนด้วยเทคโนโลยีแสงซินโครตอน โครงการกำหนดมาตรฐานสินค้าอุตสาหกรรมในระดับอาเซียนโดยใช้เทคโนโลยีด้านมาตรวิทยา ศูนย์ปฏิบัติการถ่ายทอดเทคโนโลยีนาโนเพื่อพัฒนาสินค้าอุตสาหกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชน โครงการแปรรูปมันสำปะหลังด้วยนวัตกรรมพลาสติกชีวภาพเพื่อทดแทนพลาสติกสังเคราะห์ ศูนย์เครือข่ายเตือนภัยพิบัติโดยใช้เทคโนโลยีอวกาศ ภูมิสารสนเทศกลางของประเทศเพื่อลดความซ้ำซ้อนในการนำไปใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร อุตสาหกรรม ความมั่นคง และการจัดเก็บภาษีท้องถิ่น ขยายการผลิตสาหร่ายเป็นอุตสาหกรรมพลังงานและอาหาร พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อความมั่นคงของประเทศ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อ สร้างชีวิต พัฒนาเทคโนโลยีหุ่นยนต์ทางการแพทย์ชั้นสูง นวัตกรรมการผลิตเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์จากงานวิจัยของประเทศไทย นวัตกรรมเพื่อช่วยเหลือคนพิการและผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับคนไทย นวัตกรรมการผลิตยา วัคซีน สารชีวภัณฑ์ทางการแพทย์ สมุนไพร และอาหารเสริมจากงานวิจัยของประเทศไทย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสร้างฐานความรู้ การเพิ่มมูลค่าและความปลอดภัยของอาหารแปรรูปไทยสู่ระดับสากล การรวบรวมและถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมชั้นสูง

การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ประเทศสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดเชิงบูรณาการ เป้าหมาย/ตัวชี้วัดระดับพื้นที่ ยุทธศาสตร์ประเทศและการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด การนำแผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ประเทศสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ Function based Area based NESDB การติดตามประเมินผลตามตัวชี้วัด 32

ตัวอย่างแนวทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนบน 2: น่าน พะเยา เชียงราย แพร่ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ข้าวหอมมะลิ ข้าวโพด ชา กาแฟ การค้าชายแดน และประตูสู่ GMS ภาคเหนือตอนบน1: เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ บริการการศึกษา ผักผลไม้ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เซรามิก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1: อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู บึงกาฬ ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ข้าวอ้อย และการค้าชายแดน

Project Based Management ยุทธศาสตร์ตามแผน Country strategy ยุทธศาสตร์กระทรวงฯ ภายใต้แผนงบประมาณปี 57 ลำดับความสำคัญ เป้าหมาย 1. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างงาน 2. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างรายได้ 3. วิทยาศาสตร์เพื่ออนาคต 4. วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 5. วิทยาศาสตร์เพื่อสร้างฐานความรู้ 1% R&D/GDP Talent Mobility การใช้ประโยชน์จากกำลังคนด้าน ว. และ ท. การใช้ประโยชน์จากอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อหลุดพ้นจากประเทศรายได้ปานกลาง (Growth & Competitiveness) การลดความเหลื่อมล้ำ (Inclusive Growth) การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Growth) การบริหารราชการแผ่นดิน (Internal process) Project Based Management การจัดการห่วงโซ่มูลค่า เพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ผลตอบแทนจากการลงทุนเมื่อเทียบกับ งบประมาณ ภาคธุรกิจ ก่อให้เกิด งานวิจัย&พัฒนา ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับหลายเรื่อง ยุทธศาสตร์เพื่อเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ลำดับความสำคัญ เป้าหมาย ข้อริเริ่มกระบี่ การสนับสนุนยุทธศาสตร์อาเซียน

แผนงาน/โครงการของ วท. ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เสนอต่อ สศช แผนงาน/โครงการของ วท. ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เสนอต่อ สศช. เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ประเทศและยุทธศาสตร์การสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศ (ณ 7 มกราคม 2556) ยุทธศาสตร์ จำนวนแผนงาน จำนวนโครงการ การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ และการลงทุน 4 37 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม 3 9 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ 1 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 7 การเสริมสร้างความมั่นคง การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน รวม 13 62

หน่วย งานที่เกี่ยว ข้อง ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ และการลงทุน แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน จำนวนโครงการ หน่วยงานเจ้าภาพ หน่วย งานที่เกี่ยว ข้อง 1. การเร่งใช้โอกาสจากอาเซียนก้าวสู่เวทีโลก การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน 1 สป. พว., วว., สอท. การพัฒนาศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของผู้ประกอบการ SME ไทย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน รองรับโอกาสและความท้าทายจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 2 วว. มว., วศ., กต., พณ., กนอ., จังหวัดชายแดน 2. การเสริมสร้างศักยภาพภาคการผลิตและบริการ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้วยการวิจัยและพัฒนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี 16 วศ., วว., พว., สซ., สทน., สวทน. อก., สธ., กษ., สนง.อิสลาม จังหวัด, การพัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐานสินค้า ด้วยการตรวจวัด ทดสอบ สอบเทียบ ทางห้องปฏิบัติการ 18 วศ., มว., วว., พว., ศลช. อก., สมอ., สสว., วพ., สธ., กพร.

ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน จำนวนโครงการ หน่วย งานเจ้าภาพ หน่วย งานที่เกี่ยว ข้อง 1. การพัฒนาสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ การดำเนินงานตามพันธกิจในพิมพ์เขียวอาเซียน (ASEAN Blueprint) และขับเคลื่อนข้อริเริ่มกระบี่ตามกรอบความร่วมมืออาเซียน เพื่อพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันและยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวอาเซียนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 สวทน., สป. กต., ทส., สอท., สภาหอการค้าฯ, ASEAN Sec, UNDP, ESCAP, FAO, EU การสร้างความตระหนักทางวิทยาศาสตร์ และความหลากหลายทางชีวภาพ อพ. ทส. 2. ความร่วมมือเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส 5 ศลช. สป.

ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน จำนวนโครงการ หน่วย งานเจ้าภาพ งานที่เกี่ยว ข้อง เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาเครือข่ายการประเมินพื้นที่เพาะปลูกและคาดการณ์ผลผลิตพืชเศรษฐกิจ 1 สทอภ. กษ. ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน จำนวนโครงการ หน่วย งานเจ้าภาพ หน่วย งานที่เกี่ยว ข้อง การศึกษา การพัฒนาบุคลากรและสร้างเครือข่ายวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในระดับอาเซียน 6 สทอภ., อพ., สซ., สดร., ปส. ศธ.

ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคง แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน จำนวนโครงการ หน่วย งานเจ้าภาพ งานที่เกี่ยว ข้อง การเสริมสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือ การจัดให้มีการตกลงในกลุ่มประเทศอาเซียนให้ดาวเทียมสำรวจโลกของประเทศในภูมิภาคอาเซียนมีวงโคจรที่สอดประสานกัน (constellation) 1 สทอภ. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านมาตรวิทยาในระดับอาเซียน มว. ปัจจัยสนับสนุน การเตรียมความพร้อมและการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้านนิวเคลียร์และรังสี 5 ปส. สทน., มว.

ยุทธศาสตร์การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน แนวทางการดำเนินงาน แผนงาน จำนวนโครงการ หน่วย งานเจ้าภาพ งานที่เกี่ยว ข้อง เมืองอุตสาหกรรม พื้นที่เศรษฐกิจนวัตกรรมด้านอาหาร (Food Valley) 1 สนช. สอท., BOI, อก., พว.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ National Science Technology and Innovation Policy Office 319 อาคารจัตุรัสจามจุรีชั้น 14 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 02-160-5432 โทรสาร: 02-160-5438 Email: info@sti.or.th http://www.sti.or.th