แบบจำลองแบล็ค-โชลส์ (Black-Scholes Model)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
“สรุปสถานการณ์เศรษฐกิจประเทศไทยปี 2551
Advertisements

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
ค่าของทุน The Cost of Capital
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การเลือกคุณภาพสินค้า
การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 10 งบประมาณลงทุน.
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
Advance Excel.
SYRUS Securities PLC. ก้าวสู่การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ SYRUS Securities PLC.
Training Management Trainee
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนสิงหาคม 2554 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนเมษายน 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร , 2120 – 2122
Bond Pricing Services Department ThaiBMA November 13th, 2007
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน สิงหาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
ภาวะตลาดหลักทรัพย์ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือน ตุลาคม 2555 ข้อมูลเพิ่มเติม : ฝ่ายวิจัย โทร ,
การวางแผน เพื่อการเกษียณ
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 1 อัตราส่วน.
อ.สมาภรณ์ เย็นดีภาควิชาคอมพิวเตอร์อาคาร 18 ชั้น 2 Tel
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
1 สถานะกองทุน 31 ธ. ค มี. ค. 49 มูลค่าทรัพย์สินสุทธิ 282,421, ,609, บาท จำนวนหน่วย 21,313, ,676, หน่วย จำนวนสมาชิก
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร. กบข. นำเงินสมาชิก ไปทำอะไร.
เป้าเบิกจ่าย งบรวม เป้าเบิกจ่าย งบลงทุน งบรวม เบิกจ่าย.
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การบรรยายครั้งที่ 5 การวิเคราะห์แนวตั้งและแนวนอน
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
บทที่ 3 คณิตศาสตร์การเงิน (3)
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
เงินฝากมี 3 ประเภท คือ เงินฝากออมทรัพย์ทั่วไป เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ
การบัญชีเกี่ยวกับตั๋วขาดความเชื่อถือ
ลักษณะสำคัญของการซื้อขายล่วงหน้า
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Option Risk Managemetn
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
2.3 การเสนอตัวอย่างการคำนวณเบี้ยประกัน
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
และผลการทดสอบทางการศึกษา
การรวมธุรกิจ.
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบจำลองแบล็ค-โชลส์ (Black-Scholes Model) Fisher Black Myron Scholes Robert Merton ในช่วงต้นทศวรรษ 1970, Fisher Black, Myron Scholes และ Robert Merton ได้เสนอแนวทางใหม่ในการประเมินราคาออปชัน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาแบบจำลองแบล็ค-โชลส์ แบบจำลองนี้ได้มีอิทธิพลอย่างมากต่อการคำนวณราคาและการซื้อขายออปชันในทางปฎิบัติในปัจจุบัน เนื่องจากความเรียบง่ายของแบบจำลองและสามารถให้คำตอบได้ในเวลาอันรวดเร็ว แบบจำลองแบล็ค-โชลส์นี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญต่อการเติบโตและความสำเร็จของแวดวงการเงินในช่วงทศวรรษที่ 1980 และ 1990 ในปี 1997, Myron Scholes และ Robert Merton ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ จากการร่วมกันพัฒนาแบบจำลองแบล็ค-โชลส์

สรุปการวิเคราะห์ ราคาออปชั่น รายการ Call Option Put Option กำไร (ขาย –ซื้อ) S0 - X X - S0 Intrinsic Value Max (S0 – X ,0) Max (X - S0 , 0) Max (S0 – Xe-rt,0) European option (Time) Max (Xe-rt - S0 , 0) Black-Scholes คือ Euro option ที่คูณ โอกาศความน่าจะเป็นที่หุ้นขึ้น ในกรณี Call option Euro option ที่คูณ โอกาศความน่าจะเป็นที่หุ้นลง ในกรณี Put option เราจึงต้องสนใจ D1 D2 คือ อะไร Basic Black-Scholes S0N(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 N(-d1) Black-Scholes S0 e-qtN(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 e-qtN(-d1)

ใช้สำหรับ X ใช้สำหรับ S0 Probability โอกาศราคาลดลง โอกาศราคาสูงขึ้น 1S.D=  T โอกาศราคาลดลง โอกาศราคาสูงขึ้น d1=0.3951 N(d1) N(-d1) N(d2) N(-d2) d2=0.2183 ln So + r + 2 T X 2  T d1 -  T โดย d1 = d2 = ใช้สำหรับ X ใช้สำหรับ S0

Z 0.01 0.02 0.03 0.04 0.05 0.06 0.07 0.08 0.09 0.00 0.5000 0.5040 0.5080 0.5120 0.5160 0.5199 0.5239 0.5279 0.5319 0.5359 0.10 0.5398 0.5438 0.5478 0.5517 0.5557 0.5596 0.5636 0.5675 0.5714 0.5753 0.20 0.5793 0.5832 0.5871 0.5910 0.5948 0.5987 0.6026 0.6064 0.6103 0.6141 0.30 0.6179 0.6217 0.6255 0.6293 0.6331 0.6368 0.6406 0.6443 0.6480 0.6517 0.40 0.6554 0.6591 0.6628 0.6664 0.6700 0.6736 0.6772 0.6808 0.6844 0.6879 0.50 0.6915 0.6950 0.6985 0.7019 0.7054 0.7088 0.7123 0.7157 0.7190 0.7224 0.60 0.7257 0.7291 0.7324 0.7357 0.7389 0.7422 0.7454 0.7486 0.7517 0.7549 0.70 0.7580 0.7611 0.7642 0.7673 0.7704 0.7734 0.7764 0.7794 0.7823 0.7852 0.80 0.7881 0.7910 0.7939 0.7967 0.7995 0.8023 0.8051 0.8078 0.8106 0.8133 0.90 0.8159 0.8186 0.8212 0.8238 0.8264 0.8289 0.8315 0.8340 0.8365 0.8389 1.00 0.8413 0.8438 0.8461 0.8485 0.8508 0.8531 0.8554 0.8577 0.8599 0.8621 1.10 0.8643 0.8665 0.8686 0.8708 0.8729 0.8749 0.8770 0.8790 0.8810 0.8830 1.20 0.8849 0.8869 0.8888 0.8907 0.8925 0.8944 0.8962 0.8980 0.8997 0.9015 1.30 0.9032 0.9049 0.9066 0.9082 0.9099 0.9115 0.9131 0.9147 0.9162 0.9177 1.40 0.9192 0.9207 0.9222 0.9236 0.9251 0.9265 0.9279 0.9292 0.9306 0.9319 1.50 0.9332 0.9345 0.9357 0.9370 0.9382 0.9394 0.9406 0.9418 0.9429 0.9441 1.60 0.9452 0.9463 0.9474 0.9484 0.9495 0.9505 0.9515 0.9525 0.9535 0.9545 1.70 0.9554 0.9564 0.9573 0.9582 0.9591 0.9599 0.9608 0.9616 0.9625 0.9633 1.80 0.9641 0.9649 0.9656 0.9664 0.9671 0.9678 0.9686 0.9693 0.9699 0.9706 1.90 0.9713 0.9719 0.9726 0.9732 0.9738 0.9744 0.9750 0.9756 0.9761 0.9767 2.00 0.9772 0.9778 0.9783 0.9788 0.9793 0.9798 0.9803 0.9808 0.9812 0.9817

การคำนวณหา N(d1) แทนค่า d1 = 0.3951 จากตาราง N(0.39) = 0.6517 ส่วนต่าง 0.01 เท่ากับ [ 0.6554 – 0.6517] ส่วนต่าง 0.0051 เท่ากับ [ 0.6554 – 0.6517] *0.0051 = 0.0019 0.01 ดังนั้น N(d1) = N(0.3951) = 0.6517 + 0.0019 = 0.6536 N(-d1) = 1- N(0.3951) = 0.3464 d1=0.3951 0.6536 0.3464

สรุปราคาออปชั่น Black-Scholes Model รายการ Call Option Put Option Basic Black-Scholes S0N(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 N(-d1) S0 N(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 N(-d1) หุ้นสามัญไม่จ่ายปันผล S0*N(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0*N(-d1) หุ้นสามัญจ่ายปันผล S0 e-qtN(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 e-qtN(-d1) ดัชนีราคาหลักทรัพย์ เงินตราต่างประเทศ S0 e-rftN(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 e-rftN(-d1) S0* = S0 – Div1*e-rt1

การประเมินราคาออปชันในหุ้นสามัญที่หุ้นสามัญไม่จ่ายปันผล Call Option Put Option S0 N(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 N(-d1) ln So + r + 2 T X 2  T d1 -  T โดย d1 = d2 = 1S.D=  T d1 N(d1) N(-d1) N(d2) N(-d2) d2

สรุปตารางย่อ N(d) d N(d) 0.0144 0.5058 0.0722 0.5288 0.2183 0.5864 0.6536 0.3464 d N(d) 0.0144 0.5058 0.0722 0.5288 0.2183 0.5864 0.3951 0.6536 0.5248 0.7002 0.6017 0.7263 0.6309 0.7360 d N(d) 0.6739 0.7497 0.7794 0.7826 0.8017 0.7886 1.2316 0.8910 1.4437 0.9256 1.6197 0.9474 1.7930 0.9633 D ตำแหน่ง N(d) พื้นที่

แบบจำลองแบล็ค-โชลส์ ตัวอย่างที่ 3.12 กำหนดให้ราคาหุ้นอ้างอิงในปัจจุบันเท่ากับ 52 บาทและออปชันมีอายุคงเหลือ 6 เดือน มีราคาใช้สิทธิเท่ากับ 50 บาท ให้อัตราดอกเบี้ยที่ปราศจากความเสี่ยงเป็น 3% ต่อปี และค่าความผันผวนของราคาหุ้นอ้างอิงเท่ากับ 25% ต่อปี จากโจทย์ข้างต้น จะได้ S0 = 52, X = 50, r = 0.03,  = 0.25 และ T = 0.5 ln So + r + 2 T X 2  T d1 =

แบบจำลองแบล็ค-โชลส์ แทนค่า d1 = ln (52/50) + (0.03 + 0.252/2) x 0.5 0.25 0.5 = 0.3951 d2 = 0.3951 – 0.25 0.5 = 0.2183 N(d1) = N(0.3951) = 0.6536 N(-d1) = N(-0.3951) = 0.3464 N(d2) = N(0.2183) = 0.5864 N(-d2) = N(-0.2183) = 0.4136 d1=0.3951 0.6536 0.3464 N(d1) 0.5864 0.4136 d2=0.2183 N(d2) Call Option Put Option S0 N(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0 N(-d1) c = (52 x 0.6536) – (50e-0.03 x 0.5 x 0.5864) = 5.10 p = (50e-0.03 x 0.5 x 0.4136) – (52 x 0.3464) = 2.36

การประเมินราคาออปชันในหุ้นสามัญที่มีการจ่ายเงินปันผล กรณีของออปชันแบบยุโรป แทนค่า S0 ด้วยราคาสป็อตลบด้วยมูลค่าปัจจุบันของเงินปันผลทั้งหมดที่จะถูกจ่ายในช่วงอายุของออปชัน

การประเมินราคาออปชันในหุ้นสามัญที่หุ้นสามัญจ่ายปันผล Call Option Put Option S0*N(d1) – Xe-rtN(d2) Xe-rtN(-d2) - S0*N(-d1) S0* = S0 – Div1*e-rt1 ln So* + r + 2 T X 2  T d1 -  T โดย d1 = d2 = 1S.D=  T d1 N(d1) N(-d1) N(d2) N(-d2) d2

Implied Volatility (IV) ในทางปฏิบัติ, ใช้วิธีการ Iterative search เพื่อหาค่า Implied volatility จากสมการแบล็ค-โชลส์ ยกตัวอย่างเช่น ถ้าราคาตลาดของคอลออปชันเท่ากับ 4.00 บาท โดย S0 = 25, X = 22, r = 0.08, q = 0.03 และ T = 0.25 ทดลองแทนค่า  = 0.40, c = 3.91 => ต่ำไป ทดลองแทนค่า  = 0.45, c = 4.09 => สูงไป ดังนั้น Implied volatility จึงควรจะมีค่าอยู่ระหว่าง 0.40 และ 0.45 วิธีการ Iterative search จะทำการซอยช่วงของตัวแปรให้เล็กลงและทำการคำนวณซ้ำจนได้ตัวแปรที่ทำให้เกิดผลลัพธ์ใกล้เคียงกับเป้าหมายที่สุด ตามตัวอย่างนี้ค่า Implied volatility = 0.4258 หรือ 42.58% ต่อปี

Implied Volatility (IV) สิ่งสำคัญข้อหนึ่งที่นักลงทุนควรจดจำคือ ราคาของ Deep-in-the-money และ Deep-out-of-the-money ออปชันจะมีความไวสัมพัทธ์ต่อการเปลี่ยนแปลงของความผันผวนของราคาหุ้นอ้างอิงน้อย ดังนั้นค่า IV ที่คำนวณได้จากออปชันเหล่านี้ จึงมีแนวโน้มที่จะไม่น่าเชื่อถือ

สรุป ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ แนวคิดเบื้องต้นในการประเมินราคาออปชัน และแนวคิดเกี่ยวกับค่าสัมพัทธภาพระหว่างพุทและคอล (Put-Call parity) แนวคิดในการประเมินราคาออปชันตามแบบจำลองไบโนเมียล (Binomial model) แนวคิดในการประเมินราคาออปชันตามแบบจำลองแบล็ค–โชลส์ (Black-Scholes model) การใช้ Implied volatility เพื่อการซื้อขายออปชัน