นายกฤษพงษ์ สุบันนารถ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น โครงการสังเคราะห์องค์ ความรู้ จากรายงานสอบสวนโรคเลป โตสไปโรซิส ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาการ และ ผลการดำเนินการ KM -KKU ปีงบประมาณ พ.ศ.2553.
Advertisements

แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ทิพาพร เสถียรศักดิ์พงศ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
โรงพยาบาลขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม –19 เมษายน 2551 สัปดาห์ที่ 16_ปี2551 ต่อแสนประชากร เขตตรวจราชการ.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552_ 13 มิถุนายน 2552 สัปดาห์ที่ 23 ปี 2552 ต่อแสนประชากร ที่มา.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม มกราคม สัปดาห์ที่ 2 ปี 2553 ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 4 มกราคม 2552 _ 18 มกราคม 52 สัปดาห์ที่ 2_ปี2552 ต่อแสนประชากร ที่มา :
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 สิงหาคม 2551 สัปดาห์ที่ 32_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม –9 กุมภาพันธ์ 2551 สัปดาห์ ที่ 6_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนก ตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ข้อมูลสะสม ตั้งแต่ 1 มกราคม – 10 พฤษภาคม 2551 สัปดาห์ที่ 19_ ปี 2551 เขตตรวจราชการ ต่อแสนประชากร.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-19 ปี 2550 (1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2550) ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
สรุปสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ ประจำเดือนธันวาคม 2549(ณ สัปดาห์ที่ 51)
กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขก.. สถานการณ์เฝ้าระวังผู้ป่วยสงสัยไข้หวัดนก ในพื้นที่ สคร.6 ขก. ปี 2549 (1 มค.- 22 พย.49)
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
กราฟที่ 1 อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 13 ตุลาคม 2550 ต่อแสนประชากร.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
น้องเลี้ยง นางสาวปภานิจ สวงโท หน่วยงานสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา พื้นที่รับผิดชอบ สคร. ที่ 6 ขก. ปี 2549 ( ณ สัปดาห์ 26 )
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
การพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนบน ปี 2556
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
โดย นางสาวสุพิศ ศรีบุศยดี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน.
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การติดตามประเมินผล ปี 2552
สรุปการประชุม เขต 10.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
การประชุม “โครงการพัฒนาศักยภาพด้านระบาดวิทยาและทีม SRRT จังหวัดนครปฐม”
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
การวิเคราะห์หาพื้นที่เสี่ยงต่อโรคเลปโตสไปโรซีส
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
อบรมคณะกรรมการ ตสน. ระดับกลุ่มเครือข่าย
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
การพัฒนาศักยภาพ SRRT : One District - One Team : One Team - One Operation : One Team - One Successful Operation : One District.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตาม ประเมินผล กรมควบคุม โรค ปี 2553 วันที่ 2 มีนาคม 2553 เวลา – น. ณ ศูนย์ปฏิบัติการกรมควบคุมโรค อาคาร.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายกฤษพงษ์ สุบันนารถ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น โครงการสังเคราะห์องค์ ความรู้ จากรายงานสอบสวนโรคเลป โตสไปโรซิส ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12

ความเป็นมา โรคเลปโตสไปโรซิส เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่เป็นปัญหาสำคัญในพื้นที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 10 และ 12 ซึ่งประกอบด้วย 8 จังหวัด ได้แก่ เขต 10 หนองบัวลำภู เลย หนองคาย และ อุดรธานี เขต 12 ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม และ ร้อยเอ็ด จ. ขอนแก่น และ จ. กาฬสินธุ์ ติดอันดับ Top ten อัตราป่วยสูงสุดของประเทศ ติดต่อกันถึง 8 ปีซ้อน (2546 – 2553) จ. เลย ติดอันดับ 7 ปี (2546 – 2549 และ ) ตั้งแต่ปี 2550 – 2553 SRRT ในพื้นที่ ดำเนินการสอบสวนโรคและเขียน รายงานสอบสวนโรคส่งมาที่ สคร. และสำนักระบาดวิทยา รวมประมาณ 60 ฉบับ การสังเคราะห์องค์ความรู้จากรายงานสอบสวนโรค จะทำให้ทราบถึงลักษณะ ทางระบาดวิทยาของโรคเลปโตสไปโรซิสในพื้นที่ รวมถึงสามารถประเมิน คุณภาพการสอบสวนโรคของ SRRT ได้

Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Si Sa Ket Roi Et Khon Kaen Kalasin Surin Buri Ram Loei Lampang Phrae Phayao Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Kalasin Loei Surin Yasothon Buri Ram Khon Kaen Phayao Nong Bua Lam Phu Roi Et Phrae The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Phayao Nong Khai Loei Nan Si Sa Ket Kalasin Khon Kaen Mae Hong Son Yasothon Phangnga The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Nan Ranong Kalasin Chanthaburi Si Sa Ket Phayao Nong Khai Khon Kaen Loei Phangnga The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Kalasin Si Sa Ket Phayao Nan Phangnga Khon Kaen Buri Ram Surin Chiang Rai Chanthaburi The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Buri Ram Kalasin Loei Phangnga Si Sa Ket Khon Kaen Surin Phayao Nan Nakhon Si Thammarat The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Buri Ram Ranong Si Sa Ket Surin Phangnga Kalasin Khon Kaen Nan Loei Amnat Charoen The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

Thailand top 10 morbidity rate of leptospirosis by provinces Reporting areascasesMorbidity ratedeaths Buri Ram Ranong Si Sa Ket Surin Phangnga Kalasin Khon Kaen Nan Loei The row which yellow highlighted are zone 10 and 12 provinces.

วัตถุประส งค์ เพื่อทราบความรุนแรงของโรค สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการระบาด เพื่อประเมินคุณภาพรายงานการสอบสวนการระบาดและให้ข้อเสนอแนะ ในการปรับปรุงคุณภาพการสอบสวน เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้ทางระบาดวิทยาของโรคเลปโตสไปโรซิสที่ ได้จากรายงานการสอบสวนโรค

วิธี การศึกษา ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้แก่ ผู้รับผิดชอบงานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบ 8 จังหวัด เพื่อกำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน และสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล ( ธันวาคม 2553) ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล บันทึกข้อมูล พร้อมตรวจสอบ ความถูกต้องของข้อมูล ( มกราคม – เมษายน ) ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลร่วมกัน และเขียนรายงาน ( พฤษภาคม - มิถุนายน ) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและ เชิญผู้เชี่ยวชาญวิพากษ์ผลการสังเคราะห์องค์ความรู้ ( กรกฎาคม - สิงหาคม ) เผยแพร่รายงานแก่ผู้เกี่ยวข้อง ( กันยายน )

วิธีการศึกษา แนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูล - คณะกรรมการสร้างเครื่องมือ และ เก็บรวบรวมข้อมูล จะต้องเป็นผู้ สอบสวนหลักระดับจังหวัด หรือเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ในงานด้าน ระบาดวิทยาไม่น้อยกว่า 3 ปี - เครื่องมือที่สร้างขึ้นมีการตรวจทานและให้ความคิดเห็นจาก ผู้เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาระดับเขตและระดับกรมควบคุมโรค - เก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานสอบสวนโรคเลปโตสไปโรซิส ทั้งแบบ Full Report, Final Report และที่มีวันเริ่มป่วยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 – 31 ธันวาคม การเก็บข้อมูลจากรายงานสอบสวนโรคแต่ละฉบับ มีผู้เก็บข้อมูล อย่างน้อย 2 คน และมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้ระหว่างกัน แล้วจึง บันทึกข้อมูลลงในเครื่องมือเก็บข้อมูลเพียงฉบับเดียว

ระยะเวลาที่ ศึกษา กิจกรรมธคธค มคมค กพกพ มี ค เม ย พคพค มิยกคกค สคสค กยกย ตคตค พยพย ธคธค 1. ประชุมเชิงปฎิบัติ การ เตรียมความ พร้อมทีมงาน และ สร้างเครื่องมือ 2. เก็บรวบรวมข้อมูล นำเข้าข้อมูล ตรวจสอบความถูก ต้องของข้อมูล 3. นำเสนอข้อมูลต่อ ทีมงาน วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล 4. เขียนรายงาน และ นำเสนอรายงานเพื่อ ขอความเห็นจาก ผู้เชี่ยวชาญ 5. เผยแพร่รายงาน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้องค์ความรู้ของการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส ในด้าน ระบาดวิทยา ได้แนวทางในการดำเนินงานที่ได้จากการปฏิบัติงานใน พื้นที่ และสามารถนำไปสู่การกำหนดเป็นนโยบายใน การดำเนินงานได้

งบประมาณและแหล่งทุน งบประมาณโครงการ : การสังเคราะห์องค์ความรู้จาก รายงานสอบสวนโรค กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น จำนวน 94,290 บาท

ทีมงาน น้องเลี้ยงพี่เลี้ยงที่ ปรึกษา พญ. ดารินทร์ อารีย์โชคชัย ดร. เกษร แถวโนนงิ้ว นางสาวจมาภรณ์ ใจภักดี นางสาวปานแก้ว รัตนศิลป์กัลชาญ