มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย รศ.ศิริวรรณ ศรีสรฉัตร์
วิทยาศาสตร์ ต่างจาก เทคโนโลยี อย่างไร?
วิทยาศาสตร์ ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่ทดสอบได้ มีขอบเขต ระเบียบ กฎเกณฑ์ เป็นความรู้ที่มาจากการสังเกต การจดบันทึก การตั้งสมมุติฐาน โดยใช้หลักฐานทางปรัชญา และตรรกศาสตร์ หาค่าออกมาทั้งในด้านคุณค่า (นามธรรม) และปริมาณ (รูปธรรม) เป็นวิชาที่ศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งหรือสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เป็นการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้เป็นประโยชน์แก่มนุษย์ในรูปของการสร้าง สิ่งประดิษฐ์/ประดิษฐกรรม (invention) ผลิตภัณฑ์ (product) หรือ กระบวนการ (process) การแก้ปัญหา โดยมุ่งแสวงหากระบวนการหรือวิธีการ (Know How) โดยอาศัยเครื่องมือและความรู้ต่าง ๆเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์เหมาะสมกับเวลาและสถานที่ ผลิตภัณฑ์ เช่น เครื่องมือ เครื่องจักร คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ ฯลฯ กระบวนการ เช่น กระบวนการกลั่นปิโตรเลียม กระบวนการผลิตเอธานอล กระบวนการผลิตเชื้อเพลิงแข็ง
ความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยี
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดย อาจารย์สมปรารถนา วงศ์บุญหนัก
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 2. ขั้นตอนการทำงานด้วยวิธีการวิทยาศาสตร์ 3. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4. เจตคติและประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์โดยทั่วไป วิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่คำนึงถึงปัญหา ตั้งปัญหา รวบรวมข้อมูล ตั้งสมมุติฐาน การทดลอง การสรุปผล การสังเกต การตั้งสมมติฐาน การทดลอง การสรุปผล
ขั้นตอนการทำงานด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ จุดเริ่มต้น เผชิญปัญหา ตั้งปัญหา ลงข้อสรุป ตรวจสอบหา ความจริงที่ ปรากฏและ สรุปผล รวบรวมข้อมูล - ทดลอง - อภิปราย - สังเกต - สำรวจ สร้างสมมติฐานไว้หลายๆ อัน เลือกอันที่ดี ที่สุด มาทดสอบก่อน
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะขั้นพื้นฐาน 1. การสังเกต (Observing) 2. การวัด (Measuring) 3. การจัดจำแนกประเภท (Classifying) 4. หาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และระหว่างสเปสกับเวลา (Space/Space and Space/Time Relationships) 5. การใช้ตัวเลขหรือการคำนวณ (Using Number) 6. การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (Organizing and Communicating) 7. การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) 8. การทำนายหรือพยากรณ์ (Predicting) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะขั้นบูรณาการ การสร้างสมมติฐาน (Formulating Hypothesis) 5. การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) 3. การกำหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and Controlling Variables) 4. การทดลอง (Experimenting) 2. การตีความหมายและลงข้อสรุป (Interpreting Data and Making Conclusion)
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1. มีใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นๆ ไม่ยึดมั่นความคิดเห็นของตนเองฝ่ายเดียว 2. มีใจมั่นคงไม่ตัดสินสิ่งใดง่ายๆ โดยปราศจากหลักฐาน 3. มีความกระตือรือร้นที่จะค้นคว้าหาความรู้อยู่เสมอ 4. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี 5. ยอมรับการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าใหม่ๆ ที่มีคุณค่า ต่อการดำรงชีวิต 6. มีเหตุผล 7. มีความซื่อสัตย์ ยึดมั่นความถูกต้องตามความเป็นจริง 8. มีความพยายามและความอดทนในการหาคำตอบ 9. มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์ 2. ช่วยแนะแนวอาชีพ 1. ช่วยให้มีความสามารถในสังคม 3. ช่วยเกิดความเจริญ ทางร่างกายและจิตใจ 4. ช่วยให้เป็นผู้บริโภค ที่สามารถ 6. ช่วยเกิดปรัชญาใน การดำรงชีวิต 5. ช่วยให้เป็นผู้ผลิต 7. ช่วยให้รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ให้เป็นประโยชน์ 8. ช่วยในการแก้ปัญหาต่างๆ 9. ช่วยให้ปลอดภัย
ใบกิจกรรมที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาตัวอย่างปัญหาสิ่งแวดล้อมในกรุงเทพ ไฟล์ : โครงการวิจัยวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาตัวอย่างเพิ่มเติมได้ที่ http://ilc.swu.ac.th หัวข้อ รายวิชา มศว 142
ศึกษาตัวอย่างปัญหาสิ่งแวดล้อมในกรุงเทพ
ใบกิจกรรมที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ใบกิจกรรมที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์