โดย รองศาสตราจารย์ นพ. นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

ประภัสสร คำยวง นักวิชาการสาธารณสุข
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
Thesis รุ่น 1.
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การจัดการงานวิจัย ในระบบสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนาพื้นที่
มคอ.4 รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
มาตรฐานวิชาชีพครู.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเกณฑ์ฯ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ตัวอย่าง การประชุม สภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม ครั้งที่ ..../…......
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
รางวัลผลงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์
มาตรฐานหลักสูตรปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. ปราณี กุลละ วณิชย์ 29 มีนาคม 2550.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
การขอตำแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร. ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนข้อเสนอโครงการ
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
เทศบาลตำบลบัลลังก์ จดหมายข่าว ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ข้อเสนอเชิงนโยบาย  การเตรียมเอกสารวิชาการรับใช้สังคม นักวิชาการยังต้องการ “พี่เลี้ยง” ที่จะช่วยเติม มุมมองด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยควรร่วมมือกับ กลไกสนับสนุนที่มีอยู่
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ทำไมต้องมี การประชุมวันนี้ ?
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบและมาตรฐาน เอกสารวิชาการรับใช้สังคมเพื่อขอกำหนดการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย รองศาสตราจารย์ นพ. นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานคณะกรรมการพัฒนารูปแบบ และมาตรฐานเอกสารวิชาการ รับใช้สังคมเพื่อใช้ประกอบการขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ วันที่ 22 ธันวาคม 2557 ณ โรงแรม ดิเอมเพรส เชียงใหม่

Presentation Outline 1. ประกาศ ก.พ.อ. ฉบับที่ 9 … เงื่อนไขที่เอื้อต่อ วิชาการรับใช้ สังคม 2. หลักการและกรอบคิด / นิยาม 3. กรอบ“รูปแบบและมาตรฐานเอกสารวิชาการ รับใช้สังคม” 4. ลักษณะคุณภาพ 3 ระดับ 5. รูปแบบการเสนอผลงานวิชาการรับใช้สังคม 6. การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 7. การประเมินผลงานวิชาการรับใช้สังคม 8. เกณฑ์พื้นฐานผู้ทรงคุณวุฒิวิชาการรับใช้ สังคม 9. การพัฒนาฐานข้อมูลผู้ทรงคุณวุฒิ วิชาการรับใช้สังคม

2. หลักการและกรอบแนวคิด 2. หลักการและกรอบแนวคิด มีศักดิ์และสิทธิเท่าเทียมกับผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการในปัจจุบัน คุณภาพของผลงานไม่แตกต่างจาก หลักเกณฑ์ปัจจุบัน กระบวนการพิจารณามีความเหมาะสมกับ ลักษณะของผลงาน 3

ภายใต้กรอบแนวคิดดังกล่าว จึงเห็นควรให้เพิ่มเติม “ผลงานวิชาการรับใช้สังคม” เป็นผลงานอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งเทียบเท่ากับผลงานวิจัย หรือผลงานวิชาการในลักษณะอื่น ไว้ในหลักเกณฑ์และวิธีการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ในปัจจุบัน เหตุผลที่กำหนดให้เป็นผลงานอีกประเภทหนึ่ง เนื่องจากผลงานวิชาการรับใช้สังคมมีลักษณะเฉพาะ จำเป็นต้องกำหนดคำนิยาม รูปแบบ และลักษณะการ เผยแพร่ให้ชัดเจน รวมทั้งแนวทางการประเมินคุณภาพ ก็มีความแตกต่างจากผลงานอื่นๆ โดยมุ่งเน้นที่การนำ ความรู้ความเชี่ยวชาญไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือผลกระทบในทางบวกต่อชุมชนหรือสังคม 4 4 4

นิยาม “ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมหรือท้องถิ่น ที่เกิดขึ้นโดยใช้ความเชี่ยวชาญ ในสาขาวิชาอย่างน้อยหนึ่งสาขาวิชา และปรากฏผลที่สามารถประเมินได้เป็นรูปธรรม โดยประจักษ์ต่อสาธารณะ ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมนี้ ต้องเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นทางด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้านเกี่ยวกับ ชุมชน วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม อาชีพ เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง คุณภาพชีวิต หรือสุขภาพ หรือเป็นผลงานที่นำไปสู่การจดทะเบียนสิทธิบัตร หรือทรัพย์สินทางปัญญา ในรูปแบบอื่นที่สามารถแสดงได้เป็นที่ประจักษ์ว่าสามารถใช้แก้ปัญหาหรือพัฒนาสังคม แลก่อให้เกิด ประโยชน์อย่างชัดเจน หรือ เป็นการเปลี่ยนแปลงในความตระหนักและการรับรู้ในปัญหาและแนวทางแก้ไขของชุมชน” ทั้งนี้ ไม่นับรวมงานที่แสวงหากำไรและได้รับผลตอบแทนส่วนบุคคลในเชิงธุรกิจ

คณะกรรมการ พัฒนารูปแบบและมาตรฐานเอกสารวิชาการรับใช้สังคม เพื่อขอกำหนดการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ รศ. นพ. นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประธานกรรมการ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นพ. เฉลิมชัย บุญยะลีพรรณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รองประธานกรรมการ ดร. ภีร์รัตน์ สงวนไทร กรรมการ อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะวัติ บุญ-หลง ผู้อำนวยการสถาบันคลังสมองของชาติ 5. รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศาสตราจารย์ ดร. วัชระ กสิณฤกษ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คณะกรรมการ พัฒนารูปแบบและมาตรฐานเอกสารวิชาการรับใช้สังคมเพื่อขอกำหนดการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ 7. รองศาสตราจารย์ นพ. อำนาจ อยู่สุข รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 8. รองศาสตราจารย์เพ็ญรัตน์ หงษ์วิทยากร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อินทิรา ซาฮีร์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม ม.อุบลราชธานี 10. รองศาสตราจารย์ ดร. อาวรณ์ โอภาสพัฒนกิจ ผู้ช่วยอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรรมการและ เลขานุการ 11. ดร. สมสุข ธีระพิจิตร ผู้ช่วยเลขานุการ เลขาธิการที่ ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย

3) กรอบ “รูปแบบและมาตรฐานเอกสาร วิชาการรับใช้สังคม” ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ใช้ในการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการจะต้องมีลักษณะเป็นผลงานเชิงวิชาการที่ใช้ความรู้ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาของตนอย่างน้อย ๑ สาขาวิชา และปรากฏผลที่สามารถประเมินได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยประจักษ์ต่อสาธารณะ ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้านต่อชุมชนหรือสังคม

การดำเนินการเป็นหมู่คณะ หรือ มีการบูรณาการหลายสาขาวิชา กรณีการดำเนินการเป็นหมู่คณะ หรือ มีการบูรณาการหลายสาขาวิชา ซึ่งมีผู้ร่วมงานจำนวนมาก ผู้ขอจะต้องเป็นผู้ดำเนินการหลักในสาขาวิชาที่เสนอขอ โดย ระบุว่าผลงานนั้นเป็นการ บูรณาการของสาขาใดบ้างและผู้ขอเป็นผู้ดำเนินการหลักในสาขาของตนอย่างไร มีคำอธิบายบทบาทหน้าที่และกระบวนการทำงานของผู้ร่วมงานทุกคนและลงนามรับรองเอกสารให้ครบถ้วน

4.) ลักษณะคุณภาพ ระดับดีเด่น ระดับดีมาก ผลระดับดี มีการรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศที่ชัดเจน มีการระบุปัญหาหรือความต้องการ โดยการมีส่วนร่วมของสังคมกลุ่มเป้าหมาย มีการวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ความรู้ที่สามารถ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น หรือทำความเข้าใจสถานการณ์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น อย่างเป็นที่ประจักษ์ หรือก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนหรือสังคมนั้น ระดับดีมาก ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดี และต้องสามารถนำไปใช้เป็นตัวอย่างในการแก้ไขปัญหา หรือทำความเข้าใจสถานการณ์ จนเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้นอย่างเป็นที่ประจักษ์ หรือก่อให้เกิดการพัฒนาให้กับสังคมอื่นได้ หรือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย ในระดับจังหวัดหรือประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ระดับดีเด่น ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดีมาก และต้องส่งผลกระทบต่อสังคมหรือแวดวงวิชาการ อย่างกว้างขวาง เป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ หรือได้รับรางวัลจากองค์กร ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เช่น UNESCO, WHO UNICEF เป็นต้น

5) รูปแบบการเสนอผลงาน วิชาการรับใช้สังคม จะต้องจัดทำเป็น เอกสาร โดยมีคำอธิบาย/ชี้แจงโดยชัดเจนประกอบผลงานนั้นเพื่อชี้ให้เห็นว่า เป็นผลงานที่ทำให้เกิดการพัฒนาเป็นประโยชน์ต่อสังคมมีความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น และเกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือ เสริมสร้างความรู้หรือก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาหนึ่งๆหรือหลายสาขาวิชาได้อย่างไร ในแง่ใด โดยต้องปรากฏเป็นที่ประจักษ์

รูปแบบการเสนอผลงานฯ จะต้องจัดทำเป็นเอกสาร โดยมีคำอธิบาย/ชี้แจงโดยชัดเจน ในหัวข้อต่างๆ ดังนี้ สภาพการณ์ก่อนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การมีส่วนร่วมและการยอมรับของสังคมเป้าหมาย กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ความรู้ความเชี่ยวชาญที่ใช้ในการทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงนั้น การคาดการณ์สิ่งที่จะตามมาหลังจากการเปลี่ยนแปลงได้เกิดขึ้นแล้ว การประเมินผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น แนวทางการติดตามและธำรงรักษาพัฒนาการที่เกิดขึ้นให้คงอยู่ต่อไป 12

ความยาว และ หลักฐานประกอบ เอกสารวิชาการต้องที่มีเนื้อหา ครบถ้วน 7 หัวข้อ มีรูปภาพประกอบ มีความยาว อย่างน้อย 7 หน้า โดยมีเนื้อหาที่มุ่งให้ นักวิชาการ นักศึกษา และคนทั่วไปอ่านเข้าใจและนำไปใช้ ได้ง่าย นอกจากเอกสารแสดงผลงานแล้ว อาจแสดงหลักฐานเพิ่มเติมอื่นๆ เกี่ยวกับผลงาน เช่น รูปภาพ หรือการบันทึกเป็น Clip VDO ภาพยนตร์ หรือแถบเสียง ประกอบการพิจารณา

การเผยแพร่ผลงาน จะต้องเผยแพร่ทั้งในพื้นที่เป้าหมาย เช่น การจัดเวทีนำเสนอผลงานในพื้นที่ หรือการเปิดให้เยี่ยมชมพื้นที่ และจะต้องมีการเผยแพรสู่สาธารณชนอย่างกว้างขวางในลักษณะใดลักษณะหนึ่งที่สอดคล้องกับผลงานโดยการเผยแพร่นั้นจะต้องมีการบันทึกเป็นเอกสารหรือเป็นลายลักษณ์อักษรที่สามารถใช้อ้างอิง หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ และมีการเผยแพร่เพิ่มเติมในวงวิชาการ ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ได้แก่ การจัดทำเป็นบทความวิชาการส่งไปยังหน่วยงานอื่นการเผยแพร่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตการนำเสนอในที่ประชุมวิชาการการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ เป็นต้น

6)การแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อประเมินผลงานฯ ให้แต่งตั้งจากบัญชีรายชื่อที่ ก.พ.อ. กำหนดในปัจจุบัน และหากสภาสถาบันอุดมศึกษา เห็นควรให้มีการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญหรือเป็นผู้ปฏิบัติงานร่วมกับชุมชนร่วมด้วยก็ให้แต่งตั้งเพิ่มเติมได้ไม่เกิน 2 คน

7)การประเมินผลงานวิชาการรับใช้สังคม นอกจากการประเมินจากเอกสารและหลักฐานประกอบการเสนอผลงานแล้ว หากจะประเมินจากการตรวจสอบสภาพจริงที่มีอยู่ในพื้นที่ด้วยก็สามารถกระทำได้ ซึ่งคณะผู้ทรงคุณวุฒิฯ จะตรวจสอบด้วยตนเอง หรือแต่งตั้งผู้แทนให้ไปตรวจสอบแทนก็ได้

8)เกณฑ์พื้นฐานผู้ทรงคุณวุฒิ วิชาการรับใช้สังคม คณะกรรมการฯเห็นว่าผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิชาการรับใช้สังคม แยกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญด้าน ชุมชน เช่น นักวิชาการรับใช้สังคม หรือผู้เชี่ยวชาญระดับชาติ ปราชญ์ชาวบ้านและนักพัฒนาในพื้นที่

เกณฑ์พื้นฐานผู้ทรงคุณวุฒิวิชาการรับใช้สังคม Criteria ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญด้านชุมชน   มีตำแหน่งทางวิชาการไม่ต่ำกว่าผู้เสนอขอและมีผลงานเกี่ยวข้องในเรื่องที่เสนอขอ และผลงานนั้นได้รับการยกย่องจากหน่วยงานที่เป็นที่ยอมรับ หรือ มีประสบการณ์ในการจัดการ หรือปฏิบัติงาน ร่วมกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง ไม่ต่ำกว่า 10 ปี โดย มีผลงานเป็นที่ปรากฏชัด และผลงานนั้นได้รับการ ยกย่องจากหน่วยงานที่เป็นที่ยอมรับ ปราชญ์ชาวบ้านหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นปราชญ์ชาวบ้านในทำเนียบของ หน่วยงานที่มีภารกิจเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น หรือ ได้รับการยอมรับจากชุมชนท้องถิ่นว่าเป็นผู้นำทางภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ ได้รับการยกย่องจากหน่วยงานที่เป็นที่ยอมรับระดับชาติ

บทบาทของผู้ทรงคุณวุฒิวิชาการรับใช้สังคม มีหน้าที่ วิเคราะห์ผลงานวิชาการรับใช้สังคม ความเหมาะสมกับบริบทและเงื่อนไขของชุมชน วิเคราะห์กระบวนการทำงาน ตามหลักการของการมีส่วนร่วม ประเมินการเปลี่ยนแปลงของชุมชนที่เกิดจากกระบวนการ

9) การพัฒนาฐานข้อมูลผู้ทรงคุณวุฒิ วิชาการรับใช้สังคม ขอความร่วมมือจากทุกมหาวิทยาลัย ส่งรายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อจัดทำฐานข้อมูลผู้ทรงคุณวุฒิวิชาการรับใช้สังคม เสนอ ทปอ. พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว เผยแพร่สู่มหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยแต่ละแห่งสามารถใช้ประกอบการคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการต่อไป

การสนับสนุนการเตรียมเอกสารวิชาการรับใช้สังคม วันที่ กิจกรรม 21 มิย. 2556 ประชุมทำความเข้าใจต่อแนวทางการใช้เอกสารวิชาการรับใช้สังคม 30 กค. 2556 ประชุม นำเสนอกรณีศึกษา 18 กย. 2556 5 สค. 2557 ประชุม ทดลองนำเสนอและวิพากษ์วิจารณ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิ กรณี วัดปงสนุก ลำปาง โดย รศ. ดร. วรลัญจก์ บุณยสุรัตน์ 29 ตค. 2557 สัมภาษณ์ อาจารย์สุเมธ ท่านเจริญ 31 ตค. 2557 สัมภาษณ์ ผศ. ดร. จรวย สุวรรณบำรุง 22 ธค. 2557 จัดประชุมนำเสนอผลงาน และ เติมเต็ม

ขอบคุณครับ