โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
Electromagnetic Wave (EMW)
วงจรสี.
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
บทที่ 4 ระบบทางทัศนศาสตร์พื้นฐาน
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
=> Co= 299,792.5 km/s ( สุญญากาศ)
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
ทฤษฎีเตาความร้อนจากแสงอาทิตย์
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
Points, Lines and Planes
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เลนส์.
ความหมายและชนิดของคลื่น
วิธีดูธนบัตรปลอม จุดสังเกตในธนบัตรรัฐบาล.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
Touch Screen.
เลนส์นูน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
1. สีสันหรือฮิว(HUE) หมายถึง สีที่ตาเรามองเห็น
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การหักเหของแสง (Refraction)
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
1. เลนส์นูน เป็นเลนส์ที่ผิวโค้งตรง กลางหนากว่าบริเวณขอบ 2
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
การหักเหของแสงในตัวกลางต่างชนิดกัน
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
การหักเหแสงของเลนส์นูนกับเลนส์เว้า
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
แว่นกรองแสง (Light Filter)
แบบทดสอบชุดที่ 1 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว แสงและการเกิดภาพ โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

แสงและการเกิดภาพ วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น

แสง (Lights) เป็นพลังงานรูปหนึ่ง แสงที่มองเห็น ( ม่วง คราม น้ำเงิน เขียว เหลือง แสด แดง ) แสงที่ไม่สามารถมองเห็น ( รังสี UV ,IR ,คลื่นวิทยุ ฯลฯ)

แหล่งกำนิดแสง คือ วัตถุที่สามารถผลิตแสง เช่น ดวงอาทิตย์ ดาวฤกษ์ หลอดไฟ หิ่งห้อย เป็นต้น

คุณสมบัติคลื่นแสง 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน

สัญลักษณ์ของลำแสง รังสีขนาน รังสีลู่เข้า รังสีลู่ออก

การสะท้อนของแสง

การสะท้อนของแสง การสะท้อนของแสงแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ การสะท้อนปกติ การสะท้อนของแสงแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ การสะท้อนปกติ การสะท้อนกระจาย

การสะท้อนแสงปกติ

การสะท้อนแสงแบบกระจาย

การสะท้อนแสง เป็นตามกฎการสะท้อน มุมตกกระทบ เท่ากับ มุมสะท้อน โดยรังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน

การสะท้อนของแสง ทำให้เกิดภาพจากวัตถุบางชนิด การสะท้อนของแสง ทำให้เกิดภาพจากวัตถุบางชนิด การเกิดภาพจากกระจก กระจกนูน กระจกเว้า กระจกเงาระนาบ

การเกิดภาพจากกระจกเงาราบ ภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบบานเดียว ภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบ 2 บานวางทำมุมกัน

การเกิดภาพในกระจกเงาระนาบบานเดียว ตา 2. ขนาดภาพ = ขนาดวัตถุ 1. ระยะภาพ = ระยะวัตถุ 3. ภาพกลับช้าย ขวา

ภาพจริง 1. เกิดจากแสงตัดกันจริง 1. เกิดจากแสงตัดกันจริง 2. มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ถ้าต้องการมองเห็นด้วยตาเปล่า ต้องนำฉากมาวางกั้น แล้วมองที่ฉาก 3. ภาพที่มองเห็น จะหัวกลับ เทียบกับวัตถุ

ภาพเสมือน 1 เกิดจากแสงไม่ตัดกันจริง ต้องต่อแนวย้อนออกไป 1 เกิดจากแสงไม่ตัดกันจริง ต้องต่อแนวย้อนออกไป 2 มองเห็นด้วยตาเปล่า ไม่ต้องนำฉากมาวางกั้น 3 ภาพที่มองเห็น หัวตั้งเหมือนวัตถุ

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบ 2 บานวางทำมุมกัน ภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบ 2 บานวางทำมุมกัน กระจกเงาบานที่ 2 วัตถุ ภาพที่ 3 กระจกเงาบานที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 1

จำนวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบวางทำมุมกัน สูตรในการคำนวณ n = 360 - 1 เมื่อ n คือ จำนวนภาพที่เกิดขึ้น คือ มุมที่กระจกเงาระนาบทำมุมต่อกัน

ตัวอย่างการคำนวณ จงคำนวณหาจำนวนภาพที่เกิดขึ้นจากการสะท้อนบนกระจกเงาระนาบสองบานวางทำมุมต่อกัน 55 ๐ วิธีคำนวณ จากสูตร n = 360 - 1 แทนค่า n = 360 - 1 55 = 6.6 - 1 = 7 - 1 = 6 ภาพ

การเกิดภาพบนกระจกโค้ง ชนิดของกระจกโค้ง กระจกนูน กระจายแสง กระจกเว้า รวมแสง

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง เมื่อวางวัตถุที่ระยะไกลกว่าจุดโฟกัส กระจกเว้า วัตถุ แกนมุขสำคัญ F C เกิดภาพจริง หัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ภาพ ระยะวัตถุ ระยะภาพ

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง เมื่อวางวัตถุที่ระยะใกล้กว่าจุดโฟกัส กระจกเว้า วัตถุ เกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ แกนมุขสำคัญ F C ภาพ ระยะภาพ ระยะวัตถุ

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง กระจกนูน วัตถุ ภาพ เมื่อวางวัตถุที่ระยะไกลกว่าจุดโฟกัส แกนมุขสำคัญ F C ระยะวัตถุ ระยะภาพ ภาพที่เกิดเป็นภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง กระจกนูน วัตถุ เมื่อวางวัตถุที่ระยะใกล้กว่าจุดโฟกัส ภาพ แกนมุขสำคัญ F C ระยะวัตถุ ระยะภาพ ภาพที่เกิดเป็นภาพเสมือน หัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ

การหาตำแหน่งและลักษณะภาพของกระจกโค้ง สูตร = 1 + 1 f S S m = S = I S O

ประโยชน์ของกระจกโค้ง กระจกนูน นำมาใช้โดยติดรถยนต์ รถจักยานยนต์ กระจกเว้า นำมาใช้ประกอบกับกล้องจุลทรรศน์