ชื่อเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการกล้าแสดงออก โดยการจัดการเรียนรู้แบบ สมมตินักวิชาศิลปะการให้บริการของกศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการโรงแรมวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ ชื่อผู้วิจัย นางอารีลักษณ์ ยศประยูร สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ปัญหาการวิจัย จากการที่ผู้วิจัยเป็นครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนในรายวิชศิลปะการให้บริการ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขางานการโรงแรมพบว่านักศึกษายังขาดการกล้าแสดงออกในเรื่องของการตอบข้อซักถามและความกล้าแสดงออก เพื่อจะได้พัฒนาบุคลิกภาพของตนเองด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้และพิจารณาหน่วยการเรียนเรื่องเทคนิคการให้บริการเป็นหน่วยการเรียนที่ผู้เรียนฝึกทักษะด้านการกล้าแสดงออกและพัฒนาบุคลิกภาพสามารถที่จะพัฒนาพฤติกรรมกล้าแสดงออกในรูปแบบของการแสดงบทบาทสมมติ
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการกล้าแสดงออกโดยใช้วิธีการแสดงบทบาทสมมติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 สาขางานการโรงแรม ในรายวิชาศิลปะการให้บริการ
แบบสังเกตพฤติการแสดงออกของนักศึกษาครั้งที่1 ข้อ พฤติกรรมการสังเกต ผลการประเมิน ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ 1 นักศึกษามีการแบ่งงานกันทำในกลุ่ม 10 20 9 6 2.76 ปานกลาง 2 นักศึกษามีการทำงานที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่ม 21 5 3 นักศึกษายอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม 12 7 2.89 4 นักศึกษามีความเป็นผู้นำในการตัดสินใจ 11 22 8 นักศึกษามีส่วนร่วมในการนำเสนอทุกขั้นตอน 24 2.80 นักศึกษายอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่นเป็นอย่างดี 23 2.71 นักศึกษานำเสนอผลงานของกลุ่ม 2.82 X SD. 0.87 - -
แบบสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกครั้งที่ 2 ข้อ พฤติกรรมการสังเกต ผลการประเมิน ดีมาก (5) ดี (4) ปานกลาง(3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ 1 นักศึกษามีการแบ่งงานกันทำในกลุ่ม 14 16 10 5 3.87 ดี 2 นักศึกษามีการทำงานที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่ม 15 12 13 3.82 3 นักศึกษายอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนในกลุ่ม 18 9 6 3.80 4 นักศึกษามีความเป็นผู้นำในการตัดสินใจ 3.58 นักศึกษามีส่วนร่วมในการนำเสนอทุกขั้นตอน 8 19 3.60 นักศึกษายอมรับฟังความคิดเห็นของบุคคลอื่นเป็นอย่างดี 3.84 7 นักศึกษานำเสนอผลงานของกลุ่ม 20 11 3.94 X 3.78 SD. 0.95 -
แสดงผลของการใช้การแสดงบทบาทสมมติ (ก่อนและหลังการใช้การแสดงบทบาทสมมติ) แสดงผลของการใช้การแสดงบทบาทสมมติ (ก่อนและหลังการใช้การแสดงบทบาทสมมติ) กลุ่ม ค่าเฉลี่ย SD ความแตกต่าง ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน t Sig. ก่อนแสดง หลังแสดง 2.82 3.78 .87 .95 0.96 0.21 30.925 .000
สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ระดับพฤติกรรมของนักศึกษาก่อนการใช้การแสดงบทบาทสมมติมีค่าเฉลี่ย 2.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน 0.87ระดับพฤติกรรมของนักศึกษาหลังจากการใช้การแสดงบทบาทมสมมติมีค่าเฉลี่ย 3.78 ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน 0.95 เมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยพบว่า ระดับพฤติกรรมของนักศึกษาหลังจากใช้การแสดงบทบาทสมมติมีค่าเฉลี่ยสูงกว่านักศึกษาก่อนการใช้การแสดงบทบาทสมมติ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ