ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
นายชยันต์ หิรัญพันธุ์
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สรุปการประชุม เขต 10.
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แผนการดำเนินการ ระยะที่ 2 มิ.ย. 48ก.ค. 48ส.ค. 48ก.ย มี.ค คกก.GG 27 คทง. Blueprint คทง.จัดทำ ข้อมูล 14 Work shop II ส่ง ข้อเสนอ การ เปลี่ยนแป.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
การประชุมกลุ่มย่อยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง สาขาการพยาบาลชุมชน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
หลักการเขียนโครงการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
การสุขศึกษา การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาตรฐานงานสุขศึกษา
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์ นายกสมาคมวิชาชีพสุขศึกษา 17 กุมภาพันธ์ 2558 ณ โรงแรมหลุยส์ แทรเวิร์น กรุงเทพฯ

ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงานสุขศึกษาที่มีคุณค่า คุณลักษณะที่พึงมี มีความรู้สึก 1.1 ชอบ ชื่นชม งานสุข ศึกษา 1.2 ชอบ ชื่นชม เจ้าหน้าที่ ทำงานสุขศึกษา 1.3 เห็นความสำคัญ 1.4 อยากช่วยเพื่อการพัฒนางาน ให้ดีขึ้น ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์

2.1 ข้อจำกัดของกำลังคนในการปฏิบัติงาน 2. มีความเข้าใจ 2.1 ข้อจำกัดของกำลังคนในการปฏิบัติงาน 2.2 ปริมาณงานที่เจ้าหน้าที่ทำในระดับ รพ.สต., รพช. 2.3 การขาดความเข้าใจลึกซึ้งในงานมาตรฐานของเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบ 2.4 การขาดคู่มือมาตรฐานที่เป็นเล่ม (มีใน web เปิดดูแต่ไม่พิมพ์ออกมา) 2.3 ข้อจำกัดจำนวนครั้งของทีมผู้ตรวจเยี่ยมที่มี ต่อสถานบริการ (ไม่เกิน 2 ครั้ง/ปี) ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์

3.1 พี่เลี้ยง ผู้สนับสนุน ส่งเสริม ให้กำลังใจในการทำงาน 3. การตรวจเยี่ยมในฐานะ 3.1 พี่เลี้ยง ผู้สนับสนุน ส่งเสริม ให้กำลังใจในการทำงาน 3.2 ผู้ที่ต้องการเห็นการพัฒนากระบวนการทำงานเพื่อผลลัพธ์ในการแก้ปัญหาของประชาชนในชุมชนไม่ใช่เพื่อต้องได้รับการผ่านมาตรฐานจากการประเมินกรรมการภายนอก 3.3 กัลยาณมิตร ที่ต้องการเห็นการปฏิบัติงาน ไม่ใช่การจับผิดการทำงาน 3.4 ผู้ช่วยแก้ปัญหาทางวิชาการ ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์

4. สิ่งที่ให้ในการตรวจเยี่ยม 4.1 คู่มือฉบับปัจจุบันมาตรฐานงานสุขศึกษา 4.2 สร้างความเข้าใจในขั้นตอนการดำเนินงานทั้ง 10 องค์ประกอบ 4.2.1 การมีนโยบาย (ประชุมหารือทุกภาคส่วน, กระจายนโยบาย, ประกาศนโยบาย) 4.2.2 ทรัพยากรในการดำเนินงาน (มอบหมายคนรับผิดชอบ, มีงบสนับสนุน) 4.2.3 มีฐานข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ (ประเภทของข้อมูล, การตาย การป่วย ของกลุ่มต่าง ๆ, สาเหตุของการเกิดปัญหาเชิงพฤติกรรมมีอะไรบ้าง) 4.2.4 แผนงานโครงการ (มีแผนงาน,มีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ชัดเจนทำได้ในเวลากำหนดประเมินได้) ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์

(มีแผนงาน,มีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ชัดเจนทำได้ในเวลากำหนด 4.2.4 แผนงานโครงการ (มีแผนงาน,มีวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ชัดเจนทำได้ในเวลากำหนด ประเมินได้) 4.2.5 มีกิจกรรมสุขศึกษา (ดำเนินตามแผนงาน/โครงการ) 4.2.6 การสนับสนุน (มีแผนการสนับสนุน ตามการดำเนินงานในองค์ 5, มีเอกสารเป็นเล่ม หรือเป็นแผ่นรายงานการติดตามสนับสนุน) ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์

4.2.7 การประเมินผล (ประเมินตามวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่เขียนไว้ในองค์ 4 ประเมิน 2 ครั้ง ก่อน/หลัง การดำเนินงาน, เปรียบเทียบผลต่างก่อนดำเนินการในองค์ 5 ต้อง Pre-test ก่อน, ไม่ใช่ย้อนกลับไปทำทีหลัง) 4.2.8 การเฝ้าระวัง (ทำแผนเฝ้าระวังพฤติกรรม, มีเครื่องมือง่าย ๆ เฝ้าระวัง, มีความถี่ในการเฝ้าระวัง มีการวิเคราะห์ผลเฝ้าระวัง มีการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง) ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์

(เน้นการทำ R to R, ทุกโครงการที่ทำนำมาเขียนเชิงวิจัย 4.2.9 การวิจัย (เน้นการทำ R to R, ทุกโครงการที่ทำนำมาเขียนเชิงวิจัย ได้หมด, มีการรายงานผลการวิจัย, มีจัดทำเป็นรูปเล่ม) 4.2.10 ผลลัพธ์ (การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ดีขึ้น ข้อมูลจากองค์ 7, ความพึงใจ, กระบวนการมีส่วนร่วม) ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์

ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไปของสถานบริการ (ชื่อ, สถาน ที่ตั้ง, บุคลากร การแบ่งงาน ฯลฯ ข้อมูลประชากร ปิรามิดประชากร ข้อมูลปัญหาสุขภาพ อัตราตาย, อัตรา ป่วย ด้วยโรคสำคัญ ข้อมูลการจัดเรียงลำดับปัญหา ข้อมูลภาคีเครือข่าย ศ.ดร.สมจิตต์ สุพรรณทัศน์