XML ( Extensible Markup Language ). ภาษาที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้สามารถ นิยามความหมายของข้อมูลได้ หรือที่เรียกว่า Data definition โดยอนุญาตให้ผู้ใช้นิยามแท็ก.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความหมายของไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( )
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
คำสั่งเริ่มต้น รูปแบบ. <HTML>. </HTML>
การใส่หมายเลขหน้าข้อความ ปรับแต่งเอกสารด้วยการใส่ หมายเลขหน้าข้อความ
Introduction to C Introduction to C.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
Script Programming& Internet Programming
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
HTML เบื้องต้น ธวัชชัย สลางสิงห์.
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
ภาษา SQL (Structured Query Language)
PHP LANGUAGE.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
การจำลองความคิด
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
Surachai Wachirahatthapong
– Web Programming and Web Database
การสร้างเว็บด้วย HTML HyperText Markup Language
Introduction to php Professional Home Page :PHP
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
การสร้างเว็บเพจ HTML.
Introduction to ASP.NET
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
Introduction to C Language
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
HTML, PHP.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
 เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และ ภาษาต่างๆ จะมีจุดดีและจุดด้อย แตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจําเป็นต้องทําการ คัดเลือกภาษาที่จะนํามาใช้งานอย่าง.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
PHP: [6] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับสตริง
Chapter 3 - Stack, - Queue,- Infix Prefix Postfix
การเขียนเว็บเพ็จด้วยโปรแกรม
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Domain Name System   (DNS).
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ซอฟต์แวร์ (Softwarre)
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
PHP เบื้องต้น.
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
โครงสร้างของภาษา HTML
ใบสำเนางานนำเสนอ:

XML ( Extensible Markup Language )

ภาษาที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้สามารถ นิยามความหมายของข้อมูลได้ หรือที่เรียกว่า Data definition โดยอนุญาตให้ผู้ใช้นิยามแท็ก ขึ้นมาได้เอง เช่น Data, Data XML (Extensible Markup Language) คืออะไร ?

1. ภาษา HTML จะประกอบไป ด้วยแท็กสำหรับการใช้งานที่ถูก กำหนดไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้ใช้เพียงแต่ นำแท็กมาใช้ แต่ในภาษา XML ไม่มีแท็กที่ ถูกนิยามไว้ก่อน ผู้ใช้ต้องสร้าง แท็กขึ้นมาเองเพื่อนำมาอธิบาย ข้อมูล HTML vs XML

2. ภาษา HTML เป็นภาษาที่ถูกออกแบบ มาเพื่อแสดงผลข้อมูล ในขณะที่ XML เป็นภาษาที่ใช้ในการ ขนส่งและจัดเก็บข้อมูล

1. ใช้สำหรับสร้างข้อมูลที่สามารถ อธิบายความหมายของตัวเองได้ (self-describe data) จากความสามารถในการสร้างแท็กขึ้นมา เองได้ ทำให้การนิยามชื่อแท็กจะคำนึงถึงชื่อที่ สื่อความหมายถึงข้อมูล ซึ่งทำให้ผู้ใช้งาน สามารถอ่านและเข้าใจข้อมูลได้ง่าย ในขณะเดียวกันก็สามารถเขียนโปรแกรม ให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถดึงข้อมูลไปใช้ได้ โดยง่าย ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า เอกสาร XML มีคุณลักษณะครบทั้งแบบ Human readable และแบบ Machine readable ประโยชน์ของ XML

SookChai Thasook ตัวอย่าง

2. ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูล (data exchange) เนื่องจาก XML เป็นเอกสารที่มีลักษณะเป็น text file จึงทำให้ XML เป็นภาษากลาง จึงใช้ได้กับทุกแพลตฟอร์ม (platform) ไม่ว่าจะเป็น Windows หรือ Unix หรืออื่นๆ จึงสามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลที่อยู่ในรูปเอกสาร XML ข้ามแพลตฟอร์มได้ ประโยชน์ของ XML

XML PHPC++ ฐานข้อมูล B ฐานข้อมูล A การแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใช้ XML

XML PHPC++ ฐานข้อมูล B ฐานข้อมูล A การแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใช้ XML

การรองรับข้อมูลในรูปแบบ XML ของ โปรแกรม Excel

การรองรับข้อมูลในรูปแบบ XML ของ โปรแกรม MS-Access

3. เป็นรากฐานของภาษาใหม่ๆ ในการ พัฒนาเว็บเพจ ภาษาใหม่ๆในที่นี้เช่น MathML, ChemML, VML, FBML, SVG และอื่นๆ ประโยชน์ของ XML

ตัวอย่าง MathML

โครงสร้างของภาษา XML

โครงสร้างของเอกสาร XML

คือ ส่วนที่ประกาศให้ทราบว่าเป็น เอกสาร XML Prolog

คือ ส่วนที่เนื้อเอกสารจริงๆ ซึ่งได้แก่ ข้อความหรือข้อมูลในเอกสารและแท็กที่ นิยามข้อความหรือข้อมูลเหล่านั้น ในส่วน Body นี้ยังมีส่วนประกอบย่อยดังต่อไปนี้ Body

ส่วนที่เป็นข้อความจำพวกคอมเมนต์ (comment) การใช้งาน XML IDC Epilog

1. เอกสาร XML จะมี root element ได้เพียง หนึ่งเดียวเท่านั้น ซึ่งทำหน้าที่คุมอิลิเมนต์อื่นๆ ทั้งหมด การใช้งาน XML IDC ในที่นี้ ……. ทำ หน้าที่เป็น root element กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

2. แท็กเปิดและปิดต้องเหมือนกัน ต่างกันแต่เพียงในแท็กปิดต้องมี เครื่องหมาย / นำหน้าชื่อแท็กเท่านั้น กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

3. ห้ามระบุแท็กเหลื่อมซ้อนกัน (overlap) คือ แท็กที่เปิดก่อนต้องปิด หลังสุด เช่น การใช้งาน XML ในกรณีที่ ผิด ยกตัวอย่างเช่น การใช้งาน XML กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

4. ชื่อแท็กมีคุณสมบัติ case-sensitive คิอตัวอักษรพิมพ์ เล็กพิมพ์ใหญ่ถือว่าแตกต่างกัน ตัวอย่าง Data กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

5. สำหรับแท็กที่ไม่มีข้อมูลอยู่ระหว่างแท็กมี วิธีเขียนได้ 2 แบบ แบบที่หนึ่งคือ แบบที่สองคือ นิยมในแบบที่สองมากกว่า กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

6. ค่าของแอตทิบิวต์ ต้องอยู่ใน เครื่องหมายคำพูดแบบ double quote (“) หรือ single quote (‘) อย่างใด อย่างหนึ่ง เช่น สังเกตว่า ตัวอย่างนี้เป็นแท็กที่มีไม่มี ข้อมูลอยู่แต่ก็มี แอตทิบิวต์ได้เหมือนแท็กที่มีข้อมูลอยู่ปกติ ทุกอย่าง กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

7. ในภาษา XML มีอักขระซึ่งสงวนไว้ 5 ตัว เพราะต้องใช้เป็นส่วนประกอบตาม โครงสร้างของภาษา ดังนั้น หากข้อมูล (Data) จำเป็นต้องมีอักขระ เหล่านี้ ก็ต้องระบุเป็นชุดอักษรพิเศษแทน ซึ่ง อักษรพิเศษชุดนี้เรียกว่า Entity Reference อักขระและ Entity Reference ทั้ง 5 มีดังนี้ กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

ในภาษา XML มีอักขระซึ่งสงวนไว้ 5 ตัว เพราะต้องใช้เป็น ใช้อักษร > & ใช้อักษร & “ ใช้อักษร " ‘ ใช้อักษร &apos; เช่น ต้องการใส่ข้อมูล ว่า x x<5 กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

8. การตั้งชื่อแท็กมีหลักเกณฑ์ที่ควรจำ ดังนี้ 8.1 ชื่อแท็กต้องขึ้นต้นด้วยอักษรหรือ เครื่องหมาย under_score ( _ ) เท่านั้น 8.2 ตัวถัดไปต้องเป็นตัวอักษร ตัวเลข เครื่องหมายจุด เครื่องหมายยัติภังค์ ( - ) เครื่องหมาย under_score ( _ ) หรือ เครื่องหมาย ( : ) เท่านั้น แต่ยังไม่แนะนำให้ใช้ : เพราะมีปัญหากับ เรื่องของเนมสเปซ (namespace) กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

8. การตั้งชื่อแท็ก ( ต่อ ) 8.3 ชื่อแท็กมีคุณสมบัติ Case- Sensitive 8.4 อักษร 3 ตัวแรกของชื่อแท็กห้าม เป็นคำว่า XML ไม่ว่าจะใช้ตัวเล็กหรือตัว ใหญ่เพื่อเป็นการสงวนไว้ใช้ในอนาคต กฏเกณฑ์ของอิลิเมนต์ (element)

แท็กใดตั้งชื่อได้ถูกต้อง

แท็กใดตั้งชื่อได้ถูกต้อง

ตัวอย่างที่ 1 ทดลองใช้งาน XML โดยแปลง ข้อมูลในตาราง

ผลการแปลงข้อมูลจากตารางเป็น XML

ตัวอย่างที่ 2 ทดลองใช้งาน XML โดยแปลง ข้อมูลในตาราง

ผลการแปลง ข้อมูล จากตาราง เป็น XML

ตัวอย่าง การใช้งานดับลินคอร์ สำหรับ XML UKOLN UKOLN is a national focus of expertise in digital information management. It provides policy, research and awareness services to the UK library, information and cultural heritage communities. UKOLN is based at the University of Bath. UKOLN, University of Bath

ตัวอย่าง การแปลงข้อมูลจาก XML ให้อยู่ ในรูปตาราง dc:titledc:descriptiondc:publis her dc:identifi er UKOLN UKOLN is a national focus of expertise in digital information management. It provides policy, research and awareness services to the UK library, information and cultural heritage communities. UKOLN is based at the University of Bath. UKOLN, University of Bath / Metadata