การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งแวดล้อมในฟาร์มเลี้ยงสัตว์
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Nickle.
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (สทอ.)
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
วิธีการหาองค์ประกอบขยะมูลฝอย
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
(โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ขดลวดพยุงสายยาง.
การดำเนินงาน GREEN & CLEAN Hospital จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ 2561
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการคุณภาพน้ำบริโภค การอบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมงานพัฒนาคุณภาพระบบบริการ อนามัยสิ่งแวดล้อม องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 19 มกราคม 2558 ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ กรุงเทพฯ ถนนราชวิถี บางพลัด กรุงเทพมหานคร นางสาวนัยนา หาญวโรดม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ

แนวทางการนำเสนอ สิทธิเกี่ยวกับน้ำและบทบาทภารกิจในการจัดการน้ำบริโภค นิยาม  ความสำคัญของการจัดการน้ำบริโภค ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับน้ำ การพัฒนาคุณภาพน้ำบริโภค (น้ำประปา ,น้ำตู้หยอดเหรียญ ,น้ำบรรจุขวด)

สิทธิเกี่ยวกับน้ำ น้ำเป็นทรัพยากรธรรมชาติอันมีจำกัดและเป็นสินสาธารณะที่จำเป็นขั้นพื้นฐานต่อชีวิตและสุขภาพ สิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับน้ำเป็นสิ่งจำเป็นอันขาดเสียมิได้ในการดำเนินชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรีของมนุษย์และเป็นสิ่งจำเป็นต่อการได้รับสิทธิมนุษยชนด้านอื่นๆ สิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับน้ำคือ การที่ทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับน้ำอย่างเพียงพอ ปลอดภัย เป็นที่ยอมรับได้ เข้าถึงได้โดยทางกายภาพ ในราคาที่สามารถจ่ายได้เพื่อใช้ส่วนตัวและในครัวเรือน ที่มา: แนวทางปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ”สิทธิเกี่ยวกับน้ำ

บทบาทภารกิจในการจัดหาน้ำบริโภค ภารกิจในการจัดบริการน้ำสะอาดในชุมชนเป็นบทบาทและหน้าที่หนึ่งซึ่งรัฐจะต้องส่งเสริมให้ประชาชนมีน้ำสะอาดเพื่อเป็นน้ำดื่มและใช้อย่างเพียงพอ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้ “พระราชบัญญัติสภาตำบล และองค์การบริหารส่วนตำบล พ. ศ. ๒๕๓๗ มาตรา ๖๘ กำหนด ให้องค์การบริหารส่วนตำบล จัดทำกิจการให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร” และ “พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๓ และมาตรา ๕๖ กำหนดให้เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร จัดทำกิจการให้มีน้ำสะอาด หรือ การประปาเพื่อประชาชน ที่มา: กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

นิยาม น้ำบริโภค หมายถึง น้ำจากแหล่งน้ำสำหรับ ใช้ปรุงประกอบอาหาร ล้างหน้า บ้วนปากและแปรงฟัน ได้แก่ น้ำประปา น้ำบ่อบาดาล น้ำบ่อตื้น น้ำฝน ที่ถูกสุขอนามัย ในปริมาณ 5 ลิตรต่อคนต่อวัน ทั้งนี้องค์การอนามัยโลกและยูนิเซฟให้คำจำกัดความว่า หมายถึง “น้ำซึ่งไม่มีสารเคมีหรือสารพิษในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเจือปนและปราศจากกลิ่น สีและรสที่ไม่เป็นที่ยอมรับ”

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “น้ำ” http://www.sunflowercosmos.org/report/report_main/report_water_1.html

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “น้ำ” http://www.sunflowercosmos.org/report/report_main/report_water_1.html

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “น้ำ” น้ำกับสุขภาพ” “น้ำ” เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งในต่อสุขภาพร่างกายของมนุษย์เรา โดยอวัยวะต่างๆภายในร่างกายนั้นล้วนแต่มีน้ำเป็นส่วนประกอบสำคัญ เช่น 75% สมอง หัวใจ กล้ามเนื้อ เป็น “น้ำ” 83% เลือด ไต เป็น “น้ำ” 86% ปอด ตับ เป็น “น้ำ” ร่างกายมีน้ำอยู่ 2ใน 3ของน้ำหนัก และมีการสูญเสีย โดยเฉลี่ยประมาณ 2.7 – 3. 2 ลิตร/วัน

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “น้ำ” หน้าที่ของน้ำในร่างกาย ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้ คงที่ ทำให้กระบวนการทางเคมีในร่างกายดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง เป็นตัวกลางในการลำเลียงสารต่างๆ ในร่างกาย และ ช่วยขับของเสียออกจาก ร่างกาย เช่น ปัสสาวะ เหงื่อ ใช้ปรุงอาหาร ทำความสะอาด และซักผ้า

โรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ (Water borne diseases) หมายถึง โรคที่เกิดโดยการนำของน้ำซึ่งมีสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นพิษต่อร่างกาย เจือปนเป็นจำนวนมาก เกินมาตรฐานที่กำหนดไว้ สาเหตุของโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ 1.เกิดจากบักเตรี (Bacterial infections) 2.เกิดจากโปรโตชัว (Protozoal infections) 3.เกิดจากไวรัส (Viral infections) 4.เกิดจากพยาธิต่าง ๆ (Parasitic infections) 5.โรคที่เกิดจากสารเคมีเป็นพิษ (Chemical poisoning)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ “น้ำ” คุณลักษณะของน้ำ แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ ลักษณะทางกายภาพ : น้ำที่เกิดจากสารบางอย่างที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น ความขุ่น สี กลิ่น รส เป็นต้น ลักษณะทางเคมี : เกิดจากแร่ธาตุหรือสารประกอบต่างๆละลายอยู่ในน้ำ และไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น ความกระด้าง เป็นต้น ลักษณะทางชีวภาพ : เกิดจากเชื้อจุลชีพต่างๆปนเปื้อนมากับน้ำทำให้เกิดโรคได้ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เช่น เชื้อไวรัส และเชื้อแบคทีเรีย

คุณลักษณะทางด้านกายภาพหรือฟิสิกส์ ( Physical Characteristics ) ลักษณะของน้ำที่เกิดจากสารบางอย่างโดยที่เราสามารถทราบได้จาก การสังเกตหรือประสาทสัมผัสอื่นๆ อาทิ ความขุ่น สี กลิ่น รส เป็นต้น 1.1 ความขุ่น ( Turbidity ) ความขุ่นของน้ำ หมายถึง การที่น้ำมีพวกสารแขวนลอยอยู่ในน้ำให้บดบังแสงท้าให้ไม่สามารถมองลงไปในระดับน้ำที่ลึกได้สะดวก 1.2 สี ( Color ) สีในน้ำตามธรรมชาติเกิดจากการหมักหมม ทับถม กันของพืช ใบไม้ เศษวัสดุอินทรีย์ต่าง ๆ

คุณลักษณะทางด้านกายภาพหรือฟิสิกส์ ...... 1.3 กลิ่น ( Odor ) กลิ่นในน้ำมักเกิดจากการที่น้ำมีจุลินทรีย์ เช่น สาหร่าย 1.4 รสชาติ (Taste) รสชาติในน้ำเกิดจากการละลายน้ำของพวกเกลือ อนินทรีย์ เช่น ทองแดง 1.5 อุณหภูมิ (Temperature) การที่อุณหภูมิของน้ำเปลี่ยนแปลงอาจ เกิดจากธรรมชาติ หรือ เกิดจากการที่น้ำได้รับการปนเปื้อนจากน้ำทิ้งที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์หรือจากโรงงานอุตสาหกรรม

คุณลักษณะทางด้านเคมี (Chemical Characteristics) ลักษณะที่เกิดเนื่องจากแร่ธาตุหรือสารประกอบต่างๆ ที่ละลายอยู่ใน น้ำ ซึ่งไม่อาจสามารถสังเกตด้วยตาเปล่า คุณสมบัติของน้ำที่มีองค์ประกอบของสารเคมี 2.1 ค่า pH น้ำที่บริสุทธิ์ มีค่า pH = 7 2.2 ความกระด้างของน้ำ 2.3 ความเป็นด่างของน้ำ (Alkalinity) 2.4 ความเป็นกรดของน้ำ (Acidity) 2.5 เหล็กและแมงกานีส (Iron and Manganese) 2.6 คลอไรด์ (Chloride) 2.7 ฟลูออไรด์ (fluoride)

2.9 ทองแดง (Copper) 2.8 สังกะสี (Zinc) 2.10 ไนไตรต์ (Nitrite) 2.10 ไนเตรต (Nitrate) 2.11 แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen Sulfide) เป็นแก๊สที่มักพบใน น้ำใต้ดินโดยธรรมชาติ 2.12 สารหนู (Arsenic) เกิดขึ้นตามธรรมชาติเนื่องจากการไหลของ น้ำผ่านชั้นใต้ดินหรือหินที่มีสารหนู 2.13 พวกไตรฮาโลมีเธน (Trihalomethanes= THMs) เชื่อกันว่าเกิด จากการทำปฏิกิริยาระหว่างคลอรีนหรือพวกฮาโลเจนอื่น ๆ กับ สารมิวมิคและฟุลวิคหรือสารที่เกิดจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ สาร อื่น ๆ

คุณลักษณะทางด้านชีวภาพ(Biological Characteristics) คุณสมบัติที่เกิดจากเชื้อจุลชีพต่างๆ ที่ปนเปื้อนมากับน้ำซึ่งอาจทำ ให้เกิดโรคต่างๆโดยเราไม่สามารถสังเกตเชื้อโรคด้วยตาเปล่าได้ 3.1 จุลินทรีย์ที่ไม่ทำให้เกิดโรค (Nonpathogenic Microorganism) 3.2 จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค (Pathogenic Microorganism) ก . ไวรัส (Virus) ข . แบคทีเรีย (Bacteria) ค . โปรโตซัว (Protozoa) ง . หนอนพยาธิ (Helminth)

การปรับปรุงคุณภาพน้ำบริโภค วิธี/ระบบการปรับปรุงคุณภาพน้ำ ขึ้นกับ คุณภาพน้ำของแหล่งน้ำดิบ (น้ำจากบรรยากาศ/น้ำผิวดิน/น้ำใต้ดิน) คุณภาพน้ำที่ต้องการ (น้ำสำหรับบริโภค/ผลิตยา/ใช้ใน Boiler/ฯลฯ)

วิธีการปรับปรุงคุณภาพน้ำ สำหรับครัวเรือน การต้ม ต้มให้เดือดนาน 1 นาที ฆ่าเชื้อโรค การกลั่น นิยมใช้ในกิจการทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมบาง ประเภท การใช้สารเคมี เช่น chlorine, Bromine, Iodine การกรอง คุณภาพของน้ำที่ได้ขึ้นกับวัสดุที่ใช้ในการกรอง สำหรับชุมชน จัดทำเป็นระบบประปาเพื่อชุมชน

ประปา คือ ขบวนการบำบัดน้ำ จากแหล่งน้ำธรรมชาติ ส่งผ่านท่อให้บริการ อย่างทั่วถึงเป็นธรรม

ผู้ใช้น้ำประปาปัจจุบัน มีหลายกลุ่ม บ้านและที่พักอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย วัด , โรงเรียน สนามบิน บริษัทห้างร้าน ต่างๆ

เป้าหมายของการประปา ด้านผู้บริโภค ด้านโรงงานผลิตน้าประปา ผลิตและจ่ายน้าสะอาด เพื่อการอุปโภคบริโภค ผ่านทางระบบท่อจ่ายน้า โดยมีค่าใช้จ่ายต่า (low cost) ด้านผู้บริโภค สะดวกสบาย ปริมาณเพียงพอตลอดเวลา สะอาดปลอดภัย ราคาเหมาะสม (Reasonable Price)

ด้านโรงงานผลิตน้าประปา & ด้านผู้บริโภค เป้าหมายของการประปา ด้านโรงงานผลิตน้าประปา & ด้านผู้บริโภค สะอาดปลอดภัย ราคาเหมาะสม เพียงพอต่อเนื่อง

คัดแยกสิ่งเจือปนออกจากน้ำ จ่ายใช้แก่ผู้ใช้บริการ หลักการผลิตน้ำประปา น้ำดิบจากแหล่งน้ำ คัดแยกสิ่งเจือปนออกจากน้ำ ฆ่าเชื้อโรคในน้ำ จ่ายใช้แก่ผู้ใช้บริการ

น้ำที่อยู่ใต้ดิน น้ำที่อยู่บนดิน แหล่งน้ำธรรมชาติ

ระบบประปามีกี่ประเภท ระบบประปาผิวดิน ระบบประปาบาดาล ระบบประปามีกี่ประเภท

กระบวนการผลิตประปาบาดาล สูบน้ำจากบ่อบาดาล เติมอากาศในน้ำ กรองสิ่งเจือปนออกจากน้ำ ฆ่าเชื้อโรคในน้ำ สร้างแรงดันส่งน้ำผ่านท่อจ่ายน้ำ

แหล่งน้ำใต้ดิน สูบน้ำจากบ่อน้ำตื้น น้ำผ่านถาดแอร์เรเตอร์ เหล็กเปลี่ยนจากสารละลายเป็นตะกอนเหล็ก น้ำไหลเข้าสู่ถังกรอง ตะกอนถูกกรองบนทรายกรอง น้ำไหลเข้าสู่ถังน้ำใส เหล็กบางส่วนถูกกรองในถังน้ำใส น้ำถูกส่งผ่าน Dron เหล็กถูกกำจัดโดยเดล่อน น้ำถูกส่งผ่านถังกรองสำเร็จรูป เหล็กถูกกำจัดโดยถังกรองสำเร็จรูป น้ำถูกจ่ายเข้าสู่ภายในบ้าน

กระบวนการผลิตประปาผิวดิน สูบน้ำจากสระ,หนอง,คลองบึง ฯลฯ แยกตะกอนออกจากน้ำ กรองสิ่งที่หลงเหลือจากการแยกตะกอน ฆ่าเชื้อโรคในน้ำ สร้างแรงดันส่งน้ำผ่านท่อจ่ายน้ำ

กระบวนการผลิตน้ำประปา

รูปแบบการจัดการน้ำบริโภคภาคธุรกิจ ตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ น้ำดื่มบรรจุขวด

ขั้นตอนการผลิตน้ำดื่มบรรจุขวด

น้ำดื่มบรรจุขวด หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตน้ำดื่ม - สถานที่ตั้งและอาคารผลิต - เครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต - แหล่งน้ำ แหล่งน้ำที่นำมาใช้ - การปรับคุณภาพน้ำ - ภาชนะบรรจุ ต้องทำจากวัสดุที่ไม่เป็นพิษ - สารทำความสะอาดและสารฆ่าเชื้อ

น้ำดื่มบรรจุขวด หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตน้ำดื่ม (ต่อ) - การบรรจุ - การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน - การสุขาภิบาล - บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน - การบันทึกและรายงาน

สาเหตุของปัญหาการปนเปื้อน ในการผลิตน้ำดื่มบรรจุขวด 1. ขาดการดูแลควบคุมคุณภาพน้ำดิบ 2. การสะสมของเชื้อในสารกรอง/ไส้กรอง 3. ข้อบกพร่องของระบบฆ่าเชื้อ 4. จุดพักในขบวนการผลิตที่อาจเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค 5. วิธีการบรรจุและการดูแลไม่เหมาะสม 6. การล้างภาชนะบรรจุและการเก็บรักษาไม่เหมาะสม

แนวทางการป้องกันการปนเปื้อน ในการผลิตน้ำดื่มบรรจุขวด

น้ำดื่มบรรจุขวด วิธีการเลือกซื้อน้ำบรรจุขวด สภาพภายนอก และสภาพภายในของขวด/ถังที่ใช้บรรจุ ลักษณะของน้ำต้องใสสะอาด ฉลากต้องระบุชื่อผู้ผลิตสถานที่ผลิตตราน้ำดื่ม ไม่ซื้อน้ำบริโภคในภาชนะบรรจุปิดสนิทที่วางปะปนกับวัตถุมีพิษ

ตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ

ขั้นตอนการผลิตน้ำดื่มตู้หยอดเหรียญ 1.Sediment Filter 2.Resin Filter 3.Pre Carbon Filter 4.RO membrane 5.Post Carbon Filter 6.UV Disinfection

ตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ ปัจจัยเสี่ยงจากตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ - น้ำที่ใช้ในการผลิต หรือน้ำดิบ - การดูแลบำรุงรักษาตู้น้ำดื่มอัตโนมัติ (การบำรุงรักษาไม่ดีพอ ไม่มีการล้าง ทำความสะอาดไส้กรองอย่างเหมาะสม) - ภาชนะบรรจุที่ผู้บริโภคนำมาบรรจุใส่น้ำ ไม่สะอาด แนวทางการควบคุมการประกอบกิจการตู้น้ำดื่มหยอดเหรียญ

Website สำนัก สุขาภิบาลอาหารและน้ำ http://foodsan. anamai. moph. go Website สำนัก สุขาภิบาลอาหารและน้ำ http://foodsan.anamai.moph.go.th โทร 0-2590-4188 , 0-2590-4186 Fan Page สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ http://www.facebook.com/foodandwatersanitation