กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ราชบุรี นายประกอบ วงศ์มณีรุ่ง นายวรวุฒิ เจริญเชื้อ
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 1311 พนักงาน ราชการ 66 ลูกจ้าง 66 รวม 2523 อัตราว่าง นายช่างโยธาชำนาญงาน = 1 เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน = 1 มาช่วย ราชการ - ถูกยืมตัว.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดน่าน
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
กรณีศึกษา : สำนักกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
แม่ฮ่องสอน -ว่าง- สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไตรเทพ มีบุญ
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 14 พนักงาน ราชการ 65 ลูกจ้าง 66 รวม 26 อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ นักวิเคราะห์ผังเมืองชำนาญการ ช่วยราชการสำนักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพิษณุโลก.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
การปรับโครงสร้างภายใต้สำนัก/กอง/กลุ่ม
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่ ลำดับการพัฒนาการปรับโครงสร้างองค์กร สายงานก่อสร้าง พ.ศ.2527-พ.ศ.2540 กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่ พ.ศ.2540-พ.ศ.2546 โครงการก่อสร้าง 1-10 (ชป.เล็ก+ชป.กลาง+ชป.ใหญ่) สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-5 พ.ศ.2546-ปัจจุบัน สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักงานก่อสร้าง 1-14 (ชป.ใหญ่) ขอเสนอเปลี่ยนแปลง โครงการก่อสร้าง 1-2 (ชป.เล็ก+ชป.กลาง) สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N สำนักงานก่อสร้าง 1-N (ชป.เล็ก+ชป.กลาง+ชป.ใหญ่+ ปรับปรุงทั้งโครงการ)

ปัญหาอุปสรรค ภารกิจหลักของสำนักชลประทาน คือ การบริหารจัดการน้ำ สำนักชลประทานมีความเชี่ยวชาญงานด้านส่งน้ำและบำรุงรักษา ด้านการบริหารงาน ไม่เป็นเอกภาพ ไม่เบ็ดเสร็จจริง ความเชี่ยวชาญในงาน แนวคิด และวิธีการปฏิบัติต่างกัน ไม่สามารถพิจารณาภาพรวมงานขนาดกลางทั้ง 25 ลุ่มน้ำได้ ด้านวิชาการ มาตรฐานต่ำลง เนื่องจากอัตรากำลังบางด้าน มีน้อยไม่เพียงพอ บุคลากรยังขาดประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญ ไม่สามารถเปิดงานก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความสูญเปล่าด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล

สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N สำนักงานก่อสร้าง 1-14 (ชป.ใหญ่) สำนักชลประทานที่ 1-17 โครงการก่อสร้าง 1-2 (ชป.กลาง+ชป.เล็ก) สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N ส่วนบริหาร ส่วนวิศวกรรม ส่วนช่างกล สำนักงานก่อสร้าง 1-N ธุรการ การเงินและบัญชี พัสดุ แผนงานและงบประมาณ พิจารณาโครงการเบื้องต้น ส่วนสำรวจภูมิประเทศ ส่วนการมีส่วนร่วม ของประชาชน ออกแบบ สำรวจปฐพี และธรณีวิทยา สำรวจเพื่อการก่อสร้าง สำรวจเพื่อออกแบบแหล่งน้ำชุมชน

การเปรียบเทียบข้อเด่น-ข้อด้อย โครงสร้างองค์กรสายงานก่อสร้าง ในปัจจุบัน ที่เสนอขอปรับปรุง สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ และ โครงการก่อสร้าง 1-2 สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N 1. สำนักชลประทานเป็นหน่วยงานรองรับยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการน้ำ 2. สำนักชลประทานมีความเชี่ยวชาญงานด้านส่งน้ำและบำรุงรักษา 3. ด้านการบริหารงาน สายการบังคับบัญชาของสำนักชลประทานขึ้นกับรองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา ทักษะความเชี่ยวชาญในงานอาชีพต่างกัน การพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ บุคลากรของสายงานบำรุงรักษาได้รับการพิจารณาก่อน 1. มีหน่วยงานหลักรองรับยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาแหล่งน้ำโดยตรง 2. สำนักพัฒนาแหล่งน้ำมีทักษะความเชี่ยวชาญด้านพัฒนาแหล่งน้ำ สายการบังคับบัญชาของสำนักพัฒนาแหล่งน้ำขึ้นตรงกับรองอธิบดีฝ่ายก่อสร้าง มองภาพรวมและการเชื่อมโยงของการพัฒนาแหล่งน้ำตามลุ่มน้ำหลัก 25 ลุ่มน้ำ ในแต่ละภูมิภาคได้กว้างไกลและชัดเจน

โครงสร้างองค์กรสายงานก่อสร้าง ในปัจจุบัน ที่เสนอขอปรับปรุง สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ และ โครงการก่อสร้าง 1-2 สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N การเปิดงานก่อสร้างโครงการขนาดกลางไม่สามารถพิจารณาภาพรวมงานทั้ง 25 ลุ่มน้ำหลักได้ ไม่มีการจัดลำดับความสำคัญ ขาดความมุ่งมั่นที่จะเปิดงานก่อสร้างใหม่ ๆ โดยเฉพาะงานขนาดกลาง เนื่องจากขั้นตอนยุ่งยาก ใช้เวลานาน การขอตั้งงบประมาณหรือการเปลี่ยนแปลงงบประมาณด้านก่อสร้างกระทำได้ยาก การเบิกจ่ายงบประมาณนำไปรวมไว้กับโครงการชลประทานจังหวัดทำให้การเบิกจ่ายล่าช้า งานไม่กระจายความรับผิดชอบ สามารถวางแผนหลักการพัฒนาแหล่งน้ำได้ทั่วถึง ครอบคลุมทุกลุ่มน้ำ จัดลำดับความสำคัญได้ สามารถบริหารงบประมาณได้ตรงลำดับความสำคัญ การเบิกจ่ายงบประมาณเอง เป็นการกระจายความรับผิดชอบ รับผิดชอบยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งน้ำด้านเดียว จึงมีความมุ่งมั่นที่จะเปิดโครงการทุกประเภทให้ได้

โครงสร้างองค์กรสายงานก่อสร้าง ในปัจจุบัน ที่เสนอขอปรับปรุง สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ และ โครงการก่อสร้าง 1-2 สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N 4. ด้านวิชาการ ด้านพิจารณาโครงการ , ออกแบบ และด้านตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม บุคลากรที่ได้รับการเกลี่ยอัตรากำลังจากส่วนกลางลงสู่ส่วนภูมิภาคยังขาดประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ทำให้มาตรฐานต่ำลง และยังไม่สามารถทำงานขนาดกลาง/ขนาดใหญ่ได้ ด้านสำรวจ ทักษะความชำนาญการสำรวจภูมิประเทศเพื่อการพิจารณาโครงการและออกแบบงานขนาดกลาง/ขนาดใหญ่ ยังมีไม่เพียงพอ และไม่มีทักษะความชำนาญงานด้านสำรวจเพื่อการก่อสร้าง ด้านปฐพีและธรณีวิทยา เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ มีทักษะเฉพาะด้าน ควรรวมอยู่ส่วนกลางเพื่อการบริหารบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านจัดการความปลอดภัยเขื่อนควรรวมอยู่ส่วนกลางเช่นกัน สำนักพัฒนาแหล่งน้ำเป็นศูนย์รวมการสร้างองค์ความรู้ด้านก่อสร้างให้กับกรมชลประทาน หน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการรวมอยู่ส่วนกลางเพื่อเป็นศูนย์รวมความรู้วิชาการด้านต่าง ๆ ที่จะถ่ายองค์ความรู้ หน่วยงานวิชาการรวมอยู่ส่วนกลางเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานสำรวจภูมิประเทศรวมอยู่ในสำนักพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อเน้นเฉพาะงานสำรวจเพื่อการก่อสร้างและสำรวจภูมิประเทศเพื่อออกแบบแหล่งน้ำชุมชน หน่วยงานด้านช่างกลรวมอยู่ในสำนักพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว เนื่องจากเป็นงานสนับสนุนที่ต้องดำเนินการไปพร้อม ๆ กันกับงานก่อสร้าง

ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2550 เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2550 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาแหล่งน้ำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและบรรเทาภัย อันเกิดจากน้ำ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การรักษาพื้นที่ทำการเกษตร ในเขตชลประทาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการน้ำ ร่วมมือร่วมใจเพื่อศักดิ์ศรีของกรมชลประทาน ประสานงานข้อมูลร้องขอ-ร้องเรียน สนับสนุนซึ่งกันและกันในภารกิจพิเศษและในภาวะวิกฤต ส่ง-รับ มอบงานที่แล้วเสร็จ ศึกษางาน/เรียนรู้งาน/แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน สร้างวัฒนธรรม จิตสำนึก ความรับผิดชอบต่อ งานกรมชลประทานให้ก้าวหน้าและพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน สำนักพัฒนา แหล่งน้ำ 1-N สำนักชลประทาน ที่ 1-17 งานส่งน้ำและบำรุงรักษา แผนงานก่อสร้างขนาดใหญ่ +ขนาดกลางใน 25 ลุ่มน้ำหลัก +ชป.เล็ก+ปรับปรุงทั้งโครงการ

จบการนำเสนอ