กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่ ลำดับการพัฒนาการปรับโครงสร้างองค์กร สายงานก่อสร้าง พ.ศ.2527-พ.ศ.2540 กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่ พ.ศ.2540-พ.ศ.2546 โครงการก่อสร้าง 1-10 (ชป.เล็ก+ชป.กลาง+ชป.ใหญ่) สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-5 พ.ศ.2546-ปัจจุบัน สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักงานก่อสร้าง 1-14 (ชป.ใหญ่) ขอเสนอเปลี่ยนแปลง โครงการก่อสร้าง 1-2 (ชป.เล็ก+ชป.กลาง) สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N สำนักงานก่อสร้าง 1-N (ชป.เล็ก+ชป.กลาง+ชป.ใหญ่+ ปรับปรุงทั้งโครงการ)
ปัญหาอุปสรรค ภารกิจหลักของสำนักชลประทาน คือ การบริหารจัดการน้ำ สำนักชลประทานมีความเชี่ยวชาญงานด้านส่งน้ำและบำรุงรักษา ด้านการบริหารงาน ไม่เป็นเอกภาพ ไม่เบ็ดเสร็จจริง ความเชี่ยวชาญในงาน แนวคิด และวิธีการปฏิบัติต่างกัน ไม่สามารถพิจารณาภาพรวมงานขนาดกลางทั้ง 25 ลุ่มน้ำได้ ด้านวิชาการ มาตรฐานต่ำลง เนื่องจากอัตรากำลังบางด้าน มีน้อยไม่เพียงพอ บุคลากรยังขาดประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญ ไม่สามารถเปิดงานก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความสูญเปล่าด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N สำนักงานก่อสร้าง 1-14 (ชป.ใหญ่) สำนักชลประทานที่ 1-17 โครงการก่อสร้าง 1-2 (ชป.กลาง+ชป.เล็ก) สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N ส่วนบริหาร ส่วนวิศวกรรม ส่วนช่างกล สำนักงานก่อสร้าง 1-N ธุรการ การเงินและบัญชี พัสดุ แผนงานและงบประมาณ พิจารณาโครงการเบื้องต้น ส่วนสำรวจภูมิประเทศ ส่วนการมีส่วนร่วม ของประชาชน ออกแบบ สำรวจปฐพี และธรณีวิทยา สำรวจเพื่อการก่อสร้าง สำรวจเพื่อออกแบบแหล่งน้ำชุมชน
การเปรียบเทียบข้อเด่น-ข้อด้อย โครงสร้างองค์กรสายงานก่อสร้าง ในปัจจุบัน ที่เสนอขอปรับปรุง สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ และ โครงการก่อสร้าง 1-2 สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N 1. สำนักชลประทานเป็นหน่วยงานรองรับยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการน้ำ 2. สำนักชลประทานมีความเชี่ยวชาญงานด้านส่งน้ำและบำรุงรักษา 3. ด้านการบริหารงาน สายการบังคับบัญชาของสำนักชลประทานขึ้นกับรองอธิบดีฝ่ายบำรุงรักษา ทักษะความเชี่ยวชาญในงานอาชีพต่างกัน การพิจารณาแต่งตั้งข้าราชการ/ลูกจ้างประจำ บุคลากรของสายงานบำรุงรักษาได้รับการพิจารณาก่อน 1. มีหน่วยงานหลักรองรับยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาแหล่งน้ำโดยตรง 2. สำนักพัฒนาแหล่งน้ำมีทักษะความเชี่ยวชาญด้านพัฒนาแหล่งน้ำ สายการบังคับบัญชาของสำนักพัฒนาแหล่งน้ำขึ้นตรงกับรองอธิบดีฝ่ายก่อสร้าง มองภาพรวมและการเชื่อมโยงของการพัฒนาแหล่งน้ำตามลุ่มน้ำหลัก 25 ลุ่มน้ำ ในแต่ละภูมิภาคได้กว้างไกลและชัดเจน
โครงสร้างองค์กรสายงานก่อสร้าง ในปัจจุบัน ที่เสนอขอปรับปรุง สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ และ โครงการก่อสร้าง 1-2 สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N การเปิดงานก่อสร้างโครงการขนาดกลางไม่สามารถพิจารณาภาพรวมงานทั้ง 25 ลุ่มน้ำหลักได้ ไม่มีการจัดลำดับความสำคัญ ขาดความมุ่งมั่นที่จะเปิดงานก่อสร้างใหม่ ๆ โดยเฉพาะงานขนาดกลาง เนื่องจากขั้นตอนยุ่งยาก ใช้เวลานาน การขอตั้งงบประมาณหรือการเปลี่ยนแปลงงบประมาณด้านก่อสร้างกระทำได้ยาก การเบิกจ่ายงบประมาณนำไปรวมไว้กับโครงการชลประทานจังหวัดทำให้การเบิกจ่ายล่าช้า งานไม่กระจายความรับผิดชอบ สามารถวางแผนหลักการพัฒนาแหล่งน้ำได้ทั่วถึง ครอบคลุมทุกลุ่มน้ำ จัดลำดับความสำคัญได้ สามารถบริหารงบประมาณได้ตรงลำดับความสำคัญ การเบิกจ่ายงบประมาณเอง เป็นการกระจายความรับผิดชอบ รับผิดชอบยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งน้ำด้านเดียว จึงมีความมุ่งมั่นที่จะเปิดโครงการทุกประเภทให้ได้
โครงสร้างองค์กรสายงานก่อสร้าง ในปัจจุบัน ที่เสนอขอปรับปรุง สำนักก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ และ โครงการก่อสร้าง 1-2 สำนักชลประทานที่ 1-17 สำนักพัฒนาแหล่งน้ำ 1-N 4. ด้านวิชาการ ด้านพิจารณาโครงการ , ออกแบบ และด้านตรวจสอบและวิเคราะห์ด้านวิศวกรรม บุคลากรที่ได้รับการเกลี่ยอัตรากำลังจากส่วนกลางลงสู่ส่วนภูมิภาคยังขาดประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ทำให้มาตรฐานต่ำลง และยังไม่สามารถทำงานขนาดกลาง/ขนาดใหญ่ได้ ด้านสำรวจ ทักษะความชำนาญการสำรวจภูมิประเทศเพื่อการพิจารณาโครงการและออกแบบงานขนาดกลาง/ขนาดใหญ่ ยังมีไม่เพียงพอ และไม่มีทักษะความชำนาญงานด้านสำรวจเพื่อการก่อสร้าง ด้านปฐพีและธรณีวิทยา เป็นหน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการ มีทักษะเฉพาะด้าน ควรรวมอยู่ส่วนกลางเพื่อการบริหารบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านจัดการความปลอดภัยเขื่อนควรรวมอยู่ส่วนกลางเช่นกัน สำนักพัฒนาแหล่งน้ำเป็นศูนย์รวมการสร้างองค์ความรู้ด้านก่อสร้างให้กับกรมชลประทาน หน่วยงานสนับสนุนด้านวิชาการรวมอยู่ส่วนกลางเพื่อเป็นศูนย์รวมความรู้วิชาการด้านต่าง ๆ ที่จะถ่ายองค์ความรู้ หน่วยงานวิชาการรวมอยู่ส่วนกลางเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ หน่วยงานสำรวจภูมิประเทศรวมอยู่ในสำนักพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อเน้นเฉพาะงานสำรวจเพื่อการก่อสร้างและสำรวจภูมิประเทศเพื่อออกแบบแหล่งน้ำชุมชน หน่วยงานด้านช่างกลรวมอยู่ในสำนักพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อความคล่องตัว สะดวก รวดเร็ว เนื่องจากเป็นงานสนับสนุนที่ต้องดำเนินการไปพร้อม ๆ กันกับงานก่อสร้าง
ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2550 เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2550 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาแหล่งน้ำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การป้องกันและบรรเทาภัย อันเกิดจากน้ำ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การรักษาพื้นที่ทำการเกษตร ในเขตชลประทาน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การบริหารจัดการน้ำ ร่วมมือร่วมใจเพื่อศักดิ์ศรีของกรมชลประทาน ประสานงานข้อมูลร้องขอ-ร้องเรียน สนับสนุนซึ่งกันและกันในภารกิจพิเศษและในภาวะวิกฤต ส่ง-รับ มอบงานที่แล้วเสร็จ ศึกษางาน/เรียนรู้งาน/แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน สร้างวัฒนธรรม จิตสำนึก ความรับผิดชอบต่อ งานกรมชลประทานให้ก้าวหน้าและพัฒนาไปในทิศทางเดียวกัน สำนักพัฒนา แหล่งน้ำ 1-N สำนักชลประทาน ที่ 1-17 งานส่งน้ำและบำรุงรักษา แผนงานก่อสร้างขนาดใหญ่ +ขนาดกลางใน 25 ลุ่มน้ำหลัก +ชป.เล็ก+ปรับปรุงทั้งโครงการ
จบการนำเสนอ