นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย สภาวะโลกร้อน นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
“กิจกรรมของมนุษย์” เร่งเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจก “กิจกรรมของมนุษย์” เร่งเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจก การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ การตัดไม้ทำลายป่า ควันจากไอเสียรถยนต์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ขยะ น้ำเสีย การปศุสัตว์ ก๊าซมีเทน กระบวนการทางอุตสาหกรรม สารฮาโลคาร์บอน (CFCs, HFCs, PFCs)
ผลกระทบจากสภาวะโลกร้อน
ผลกระทบจากการเพิ่มอุณหภูมิของโลก 1. น้ำแข็งขั้วโลก และหิมะบนยอดเขาละลาย 2. ผลกระทบต่อการเกษตร 3. ผลกระทบต่อทรัพยากรน้ำ 4. ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ 5. ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 6. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม 7. ผลกระทบต่อสุขภาพ
ผลกระทบต่อสุขภาพ การระบาดของโรคติดต่อ เช่น โรคมาลาเรีย และไข้สมองอักเสบ จะรุนแรงและครอบคลุมเกือบทั่วโลก เนื่องจากอุณหภูมิที่อุ่นขึ้น ฝนตกมากขึ้น เป็นปัจจัยเหมาะสมสำหรับยุง แมลง ที่เป็นพาหะของโรค ถ้าอุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นอีก 1-3 oC ประชากรของโลกประมาณร้อยละ 45 จะอยู่อาศัยในพื้นที่ซึ่งเหมาะสมต่อการแพร่กระจายของโรคมาลาเรีย
ผลกระทบต่อสุขภาพ (ต่อ) เกิดโรคระบาดสายพันธุ์ใหม่ เช่น ซาร์ส ไข้หวัดนก เอดส์ อีโบล่า มาลาเรียสายพันธุ์ใหม่ เกิดโรคระบาดอุบัติซ้ำ เช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ ไข้หวัดสเปน อาจเกิดโรคระบาดอุบัติใหม่ ที่ติดต่อโดยการหายใจ ทำให้คนตายถึง 40-200 ล้านคนในอนาคต
ปรับพฤติกรรมสุขภาพ แก้โลกร้อน “เรียนรู้ สู่การปฏิบัติ .... เพื่อเป็นแบบอย่างในชุมชน พิทักษ์ ปกป้อง สิ่งแวดล้อม เป้าหมายเพื่อ สร้างความสามารถในการปรับตัวของสิ่งแวดล้อมใน การป้องกันและบรรเทาความเสียหายจากผลกระทบ สร้างมาตรการทางสังคม
ปรับพฤติกรรม แก้โลกร้อน ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ลดการใช้พลังงาน (น้ำมัน ไฟฟ้า) ใช้พลังงานทดแทน ใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (สินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์มาก สร้างปัญหา) ใช้น้ำอย่างประหยัด คัดแยกขยะ + 3Rs ปลูกต้นไม้ เลิกเผาป่า นำสิ่งปฏิกูล(จากคนและมูลสัตว์)มาใช้ประโยชน์ (ปุ๋ย เชื้อเพลิง) เลิกเผาสิ่งของ ขยะ เอามา Reuse Recycle ปลูกพืชผักตามฤดูกาล เลิกใช้สารฆ่าแมลง ปุ๋ยเคมี (ผักพื้นบ้าน อาหารพื้นเมือง) บอกต่อ.....เรื่องโลกร้อน 8
อสม.กับสภาวะโลกร้อน พิทักษ์ ปกป้อง สิ่งแวดล้อม อนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่ป่าสำคัญ เช่น ป่าต้นน้ำ บริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำและอนุรักษ์น้ำ บริหารจัดการการใช้น้ำในครัวเรือนอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนกระบวนการทางเกษตร ให้มีการใช้ทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพและลดการพึ่งพาทรัพยากรที่ได้รับ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น แหล่งน้ำ ปริมาณน้ำฝน ดำรงชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรกรรมยั่งยืน 9
สร้างมาตรการทางสังคม - สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่น กิจกรรมรณรงค์ปลูกป่า การนำของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ - สนับสนุนการดำเนินงานของท้องถิ่น - กำหนดกติกาของชุมชนร่วมกัน