นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
OUTLINE หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ขอบเขตเนื้อหางานวิจัย
Advertisements

งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
การพัฒนากระบวนการอ่านในรายวิชาภาษาไทย ของนักศึกษาสาขา ช่างยนต์
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความสนใจ ของนักศึกษาให้สนใจต่อการเรียน ให้มากขึ้น.
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.

นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมการกำลังสอง
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
เรื่อง การพัฒนาทักษะการพิมพ์หนังสือราชการภายนอก ในรายวิชาพิมพ์ไทยด้วยคอมพิวเตอร์ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนการสอน แบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษา ระดับ.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
นางสาวนันท์นภัส นาราช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
นายขวัญชัย ดวงทนัน วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่

ปัญหา การวิจัย สื่อการเรียนการสอน นับเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ อย่างยิ่ง ในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนซึ่ง นอกจากที่จะสร้างความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนแล้ว ยัง ทำให้ผู้เรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นวิชางาน ไม้ 2 เป็นวิชาหนึ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นต่อ นักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) สาขาช่างก่อสร้าง โดยเฉพาะการนำหลักวิชาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ในการทำงานในอนาคต ซึ่งวิชางานไม้ 2 เป็นวิชาภาคปฏิบัติ จึงมีการฝึกปฏิบัติงานในโรงงานไม้ การสอนแบบเดิมคือการอธิบายใบงาน และวาดเขียน บนกระดานโดยไม่มีสื่อจริง ซึ่งทำให้เสียเวลาและทำให้ นักศึกษาไม่เข้าใจในบทเรียน และยังทำให้เกิดปัญหา การสอนซ้ำ จากสาเหตุดังกล่าวทางผู้วิจัยจึงสร้างสื่อ งานต้นแบบ เพื่อนำมาใช้ในการเรียนการสอนเรื่อง การ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ

วัตถุประ สงค์ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี ต่อสื่องานต้นแบบเรื่อง การประกอบไม้ รูปแบบต่างๆ ในวิชางานไม้ 2 ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อ งกส.1102 แผนกวิชาช่างก่อสร้าง วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา

แนวคิดใน การวิจัย 1. ขอบเขตด้านประชากร 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา นักศึกษา ปวช. ห้อง 1102 ที่กำลัง ศึกษาอยู่ใน วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาค เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 จำนวน 30 คน หน่วยเรียนที่ 4 เรื่องการ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ ของวิชางานไม้ 2 ( รหัส วิชา )

เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล 1. ขั้นตอนก่อนเก็บข้อมูล 1.1 ศึกษาเนื้อหาวิชา งานไม้ 2 เรื่อง การ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ 1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ หลักการ วิธีการสร้างสื่อ 1.3 ออกแบบสื่อการสอนงานต้นแบบ 1.4 ผลิตสื่อการสอนงานต้นแบบ 1.5 นำสื่อที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน เทคนิคการผลิตสื่องานต้นแบบ เรื่อง การ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ จำนวน 3 คน เพื่อหา คุณภาพของสื่อจำลอง ตรวจสอบความถูกต้อง และดัชนีความสอดคล้อง 1.6 นำไปปรับปรุงแก้ไข ก่อนนำไปสอน

การรวบรวม ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด ไปวิเคราะห์หาค่าทางสถิต ให้นักศึกษาทำแบบประเมินความพึงพอใจ ดำเนินการสอนโดยใช้สื่องานต้นแบบ เลือกกลุ่มนักศึกษา

สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากแบบ ประเมินความพึงพอใจ โดยใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ดังสมการต่อไปนี้ 1. ค่าคะแนนเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) โดย คำนวณจากสูตร เมื่ อ แทนคะแนน เฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนน ทั้งหมด แทน จำนวนนักเรียนใน กลุ่มประชากร

ผลการ วิเคราะห์ ข้อมูล รายการประเมินระดับความพึงพอใจ 1. สื่อมีความสอดคล้องกับเนื้อหา 4.93 พึงพอใจมากที่สุด 2. สื่อมีขนาด รูปร่างที่สามารถ มองเห็นได้ชัดเจน 4.70 พึงพอใจมากที่สุด 3. สื่อช่วยให้เรียนรู้ จดจำ เข้าใจ ได้ง่าย 4.66 พึงพอใจมากที่สุด 4. รูปแบบของสื่อมีความน่าสนใจ ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และ จดจำดีขึ้น 4.66 พึงพอใจมากที่สุด 5. สื่อที่ใช้เหมาะสมกับระดับความรู้ ของผู้เรียน 4.80 พึงพอใจมากที่สุด 6. สื่อสามารถนำไปใช้ประโยชน์ใน การศึกษา 4.83 พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.76 พึงพอใจมากที่สุด

สรุป ผลการวิจั ย จากผลการวิจัย พบว่านักศึกษามีระดับความพึง พอใจต่อสื่องานต้นแบบเรื่องประกอบไม้รูปแบบต่างๆ ในวิชางานไม้ 2 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดและสื่อ งานต้นแบบมีส่วนช่วยให้ นักศึกษาเกิดความสนใจ ช่วย ให้เกิดเรียนรู้ กระตุ้นให้เกิดการจดจำได้ดีขึ้น และสื่อสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาในเรื่อง การประกอบไม้รูปแบบต่างๆ ในวิชางานไม้ ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ นฤมล โสภารัตนกุล (2554) ที่ได้ศึกษาเรื่องความพึงพอใจในการใช้สื่อ การเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์และสถิติสำหรับ ธุรกิจ ของนักศึกษาภาคปกติ หลักสูตรการเงินและ หลักสูตรคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1. การศึกษาความพึง พอใจต่อสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์และ สถิติสำหรับธุรกิจ นักศึกษามีระดับความพึงพอใจมาก ที่สุด

สื่องานต้นแบบที่ใช้ใน งานวิจัยครั้งนี้ การประกอบไม้แบบเพลาะไม้โดยใช้ตะปู การประกอบไม้แบบต่อบากตรง การประกอบไม้แบบต่อชนมุม 45 องศา การประกอบไม้แบบบากชนเดือยเดี่ยว