องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Live and Learn Library Tour เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐
เขาวังคู่บ้าน ขนมหวาน เมืองพระ เลิศล้ำศิลปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
แนวทางปฏิบัติและการเตรียมความพร้อม การถ่ายโอนภารกิจ
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการโรงพยาบาล
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
การบริหารจัดการเครือข่าย รพ.สต.ของจังหวัดเพชรบุรี
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ สำนักนโยบายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผู้เยี่ยมประเมินมาตรฐานงาน สุขศึกษา ที่มีคุณค่า
พว.บุญชนะ กลางเสนา รพ.สต.โคกสว่าง
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
รายงานผลการดำเนินงานตามคำมั่นการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ระหว่าง เดือนตุลาคม 2555 ถึง เดือนมกราคม 2556 งานพัฒนาบุคลากร กลุ่มพัฒนาวิศวกรรม.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
โครงการ : ส่งเสริมสุขภาพด้านอาหารและโภชนาการในภาวะภัยพิบัติ(อุทกภัย)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู รูปแบบการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดหนองบัวลำภู องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู นายแพทย์ศราวุธ สันตินันตรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู

ความสำคัญ วัตถุประสงค์ หน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานยังมีไม่เพียงพอ การนำส่งกลุ่มญาติ การเจ็บป่วยยังมีอัตราสูง หากมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้น พื้นที่ที่รับผิดชอบอย่างใกล้ชิด มีความสำคัญในการช่วยเหลือเบื้องต้นมากที่สุด วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพเครือข่ายหน่วยบริการฉุกเฉิน(EMS) เพื่อให้มีเครือข่ายเพิ่มขึ้นและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการอย่างทั่วถึง

พระบรมราโชวาทพระราชทานพระตำหนัก จิตรดารโหฐาน วันที่ 21 มีนาคม 2522 พระบรมราโชวาทพระราชทานพระตำหนัก จิตรดารโหฐาน วันที่ 21 มีนาคม 2522 “…การบรรเทาความเดือดร้อนนั้น มีความ สำคัญมาก แม้จะเป็นเพียงบรรเทาไม่ใช่ขจัดโดยสิ้นเชิง แต่สำคัญมากที่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ ย่อมมีความรู้สึก มีกำลังใจในการต่อสู้ชีวิต ถ้าหากได้รับ การช่วยเหลือด้วยไมตรีจากผู้อื่น ที่ไม่ประสบภัย...”

จังหวัดหนองบัวลำภู สถาปนาเป็นจังหวัด 1 ธันวาคม 2536 (16 ปี) ประชากร ประมาณ 500,000 คน พื้นที่ ติดกับจังหวัดเลย ขอนแก่น อุดรธานี แบ่งเป็น 6 อำเภอ ภูมิศาสตร์ ภูเขา ทะเลสาบเขื่อนอุบลรัตน์ หนองน้ำสาธารณะ หนองน้ำตามธรรมชาติ ประเพณีวัฒนธรรม ฮีตสิบสอง ชาวอีสานทั่วไป

การช่วยเหลือ/เป้าหมายการช่วยเหลือ ผู้ประสบเหตุทางบก ผู้ประสบเหตุทางน้ำ ผู้ประสบภัยทางอากาศ บาดเจ็บน้อยที่สุด เสียชีวิตน้อยที่สุด

ขั้นตอนการดำเนินงานรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ การบริการทางการแพทย์ อบจ ขั้นตอนการดำเนินงานรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ การบริการทางการแพทย์ อบจ.หนองบัวลำภู 1.ขั้นวางแผนงาน -การรับสมัครและคัดเลือกพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง เพื่อเป็นเครือข่าย โดยมีเครือข่ายร่วม -การคัดเลือกบุคลากรเพื่อเข้าฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉินเบื้อต้นโดยเครือข่ายเป็นผู้เลือกสรรในพื้นที -การทำข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่าย (อบจ./อปท.เครือข่าย/สถ.) 2.ขั้นเตรียมการ -จัดฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉิน(BMTB) 110 ชั่วโมง 18 วันจำนวน คน -จัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ สำหรับพนักงานขับรถยนย์บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน 3 วัน -จัดฝึกอบรมวิทยุ -จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการบูรณาการ 3.ขั้นดำเนินการปฏิบัติงานในพื้นที่ -ส่งตัวพนักงานเวชกรฉุกเฉินปฏิบัติงานประจำในพื้นที่ทั้ง 6 จุด (6 อำเภอ) 4.ขั้นติดตามประเมินผล -เยี่ยมติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเครือข่ายทั้ง 6 จุด 5.แผนการขยายเครือข่ายในปีงบประมาต่อไป

1.ขั้นวางแผนงาน 1.การรับสมัครและคัดเลือกพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง เพื่อเป็นเครือข่าย โดยมีเครือข่ายร่วม 2.การคัดเลือกบุคลากรเพื่อเข้าฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉินเบื้อต้นโดยเครือข่ายเป็นผู้เลือกสรรในพื้นที 3.การทำข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่าย (อบจ./อปท.เครือข่าย/สถ.)

2.ขั้นเตรียมการ 1.จัดฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉิน(BMTB) 110 ชั่วโมง 18 วัน 2.จัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ สำหรับพนักงานขับรถยนต์บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน เวลา 3 วัน 3.จัดฝึกอบรมการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ เวลา 1 วัน 4.จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินในรูปแบบบริการเครือข่ายร่วม เวลา1วัน

3.ขั้นดำเนินการปฏิบัติงานในพื้นที่ ส่งตัวพนักงานเวชกรฉุกเฉินปฏิบัติงานประจำในพื้นที่ทั้ง 6 จุด (6 อำเภอ) ให้บริการตามเครือข่ายพื้นที่

4.ขั้นติดตามประเมินผล เยี่ยมติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเครือข่ายทั้ง 6 จุด

แผนการขยายเครือข่ายในปีงบประมาณต่อไป