องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู รูปแบบการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดหนองบัวลำภู องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู นายแพทย์ศราวุธ สันตินันตรักษ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู
ความสำคัญ วัตถุประสงค์ หน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานยังมีไม่เพียงพอ การนำส่งกลุ่มญาติ การเจ็บป่วยยังมีอัตราสูง หากมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้น พื้นที่ที่รับผิดชอบอย่างใกล้ชิด มีความสำคัญในการช่วยเหลือเบื้องต้นมากที่สุด วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพเครือข่ายหน่วยบริการฉุกเฉิน(EMS) เพื่อให้มีเครือข่ายเพิ่มขึ้นและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการอย่างทั่วถึง
พระบรมราโชวาทพระราชทานพระตำหนัก จิตรดารโหฐาน วันที่ 21 มีนาคม 2522 พระบรมราโชวาทพระราชทานพระตำหนัก จิตรดารโหฐาน วันที่ 21 มีนาคม 2522 “…การบรรเทาความเดือดร้อนนั้น มีความ สำคัญมาก แม้จะเป็นเพียงบรรเทาไม่ใช่ขจัดโดยสิ้นเชิง แต่สำคัญมากที่ผู้ประสบภัยธรรมชาติ ย่อมมีความรู้สึก มีกำลังใจในการต่อสู้ชีวิต ถ้าหากได้รับ การช่วยเหลือด้วยไมตรีจากผู้อื่น ที่ไม่ประสบภัย...”
จังหวัดหนองบัวลำภู สถาปนาเป็นจังหวัด 1 ธันวาคม 2536 (16 ปี) ประชากร ประมาณ 500,000 คน พื้นที่ ติดกับจังหวัดเลย ขอนแก่น อุดรธานี แบ่งเป็น 6 อำเภอ ภูมิศาสตร์ ภูเขา ทะเลสาบเขื่อนอุบลรัตน์ หนองน้ำสาธารณะ หนองน้ำตามธรรมชาติ ประเพณีวัฒนธรรม ฮีตสิบสอง ชาวอีสานทั่วไป
การช่วยเหลือ/เป้าหมายการช่วยเหลือ ผู้ประสบเหตุทางบก ผู้ประสบเหตุทางน้ำ ผู้ประสบภัยทางอากาศ บาดเจ็บน้อยที่สุด เสียชีวิตน้อยที่สุด
ขั้นตอนการดำเนินงานรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ การบริการทางการแพทย์ อบจ ขั้นตอนการดำเนินงานรูปแบบการพัฒนาศักยภาพ การบริการทางการแพทย์ อบจ.หนองบัวลำภู 1.ขั้นวางแผนงาน -การรับสมัครและคัดเลือกพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง เพื่อเป็นเครือข่าย โดยมีเครือข่ายร่วม -การคัดเลือกบุคลากรเพื่อเข้าฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉินเบื้อต้นโดยเครือข่ายเป็นผู้เลือกสรรในพื้นที -การทำข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่าย (อบจ./อปท.เครือข่าย/สถ.) 2.ขั้นเตรียมการ -จัดฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉิน(BMTB) 110 ชั่วโมง 18 วันจำนวน คน -จัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ สำหรับพนักงานขับรถยนย์บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน 3 วัน -จัดฝึกอบรมวิทยุ -จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการบูรณาการ 3.ขั้นดำเนินการปฏิบัติงานในพื้นที่ -ส่งตัวพนักงานเวชกรฉุกเฉินปฏิบัติงานประจำในพื้นที่ทั้ง 6 จุด (6 อำเภอ) 4.ขั้นติดตามประเมินผล -เยี่ยมติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเครือข่ายทั้ง 6 จุด 5.แผนการขยายเครือข่ายในปีงบประมาต่อไป
1.ขั้นวางแผนงาน 1.การรับสมัครและคัดเลือกพื้นที่กลุ่มเป้าหมาย อำเภอละ 1 แห่ง เพื่อเป็นเครือข่าย โดยมีเครือข่ายร่วม 2.การคัดเลือกบุคลากรเพื่อเข้าฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉินเบื้อต้นโดยเครือข่ายเป็นผู้เลือกสรรในพื้นที 3.การทำข้อตกลงระหว่างภาคีเครือข่าย (อบจ./อปท.เครือข่าย/สถ.)
2.ขั้นเตรียมการ 1.จัดฝึกอบรมพนักงานเวชกรฉุกเฉิน(BMTB) 110 ชั่วโมง 18 วัน 2.จัดฝึกอบรมหลักสูตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น และการกู้ชีพ สำหรับพนักงานขับรถยนต์บริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน เวลา 3 วัน 3.จัดฝึกอบรมการใช้เครื่องวิทยุคมนาคมแบบสังเคราะห์ความถี่ เวลา 1 วัน 4.จัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหน่วยบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินในรูปแบบบริการเครือข่ายร่วม เวลา1วัน
3.ขั้นดำเนินการปฏิบัติงานในพื้นที่ ส่งตัวพนักงานเวชกรฉุกเฉินปฏิบัติงานประจำในพื้นที่ทั้ง 6 จุด (6 อำเภอ) ให้บริการตามเครือข่ายพื้นที่
4.ขั้นติดตามประเมินผล เยี่ยมติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานเครือข่ายทั้ง 6 จุด
แผนการขยายเครือข่ายในปีงบประมาณต่อไป