ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การใช้งานและพัฒนาระบบ บริหารจัดการงบประมาณของกรมควบคุมโรค นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ 26 กรกฏาคม 2554 เอกสารประกอบการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบบริหารจัดการข้อมูลงบประมาณ กรมควบคุมโรค ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ / โครงการ ปี 2555 วันที่ 26 - 27 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องมิ่งเมือง ชั้น 4 โรงแรมทวินทาวเวอร์ กรุงเทพฯ
พ. ร. บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ. ศ พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๓/๑ วรรคสาม “ ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ ”
การพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารจัดการ (Management Information System : MIS) เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำในการตัดสินใจ โดยมีฐานข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างถูกต้องมาใช้ประกอบการตัดสินใจบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ จำเป็นต้องมีระบบสารสนเทศการบริหารจัดการ (MIS ) มาเป็นเครื่องมือ
การออกแบบสถาปัตยกรรม ระบบสารสนเทศของกรมควบคุมโรค Operational Information System Management Executive Services ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจ E1 คลังข้อมูล ตามพันธกิจ E2 M1 ข้อมูลสรุป เพื่อการบริหาร คลังข้อมูล การบริหาร M2 ข้อมูลโรค ตามพันธกิจ ข้อมูลพื้นฐาน เพื่อการบริหาร O1
ฐานข้อมูลกลางของกรมฯ Data Warehouse ภาพรวมของระบบสารสนเทศ (MIS) ของกรมควบคุมโรค E-Library Call Center ระบบรายงานโรค ฐานข้อมูลโรคต่างๆ สารบรรณ KM งานตามพันธกิจ Strategic /Output / KPI Project Planning ฐานข้อมูลกลางของกรมฯ Data Warehouse Project Monitoring / Evaluating Estimates Strategic KPI Business Intelligent Tool Export Excel โหลดเข้าระบบ GFMIS Financial Report Progress Report โปรแกรม Cognos Presentation ทะเบียน สินทรัพย์ EV MIS E-Budgeting แผน/ผล งาน เงิน DPIS Competency งานบุคลากร
ระบบบริหารจัดการงบประมาณของกรมควบคุมโรค (Estimates) ความเป็นมา เป็นระบบสารสนเทศด้านการบริหารโครงการและงบประมาณ ซึ่งพัฒนาขึ้นเมื่อปี 2546 และมีการปรับปรุง อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมฯ ใช้ในการจัดทำรายงานแผน / ผลการปฏิบัติราชการและ การใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และ ตัวชี้วัดขององค์กรที่กำหนดขึ้นในแต่ละปี
ประโยชน์ของระบบบริหารจัดการงบประมาณ เป็นระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการที่ออกแบบให้เชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด แผนงาน แผนงบประมาณ การรายงานผลงานและค่าใช้จ่าย ทุกแหล่งเงิน เพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้บริหารสามารถติดตามความก้าวหน้าของแผนงาน โครงการ เป้าหมาย ตัวชี้วัดที่กำหนด เป็นระบบการทำงานบน Internet บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถ update ข้อมูลได้ตลอดเวลา (Real time)
ประโยชน์ของระบบบริหารจัดการงบประมาณ ช่วยลดขั้นตอนการทำและส่งรายงานเป็นกระดาษ (Paperless) (รายงานสงป. / รายงานการประเมินตนเอง SAR / รายงานการประเมินผลงานและการใช้จ่ายงบประมาณ PART / รายงานคณะกรรมาธิการฯ / รายงานคณะตรวจประเมินของกระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ) เป็นฐานข้อมูลด้านผลงานและการใช้จ่ายที่สามารถนำไปใช้ในการ 1. รายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน / กลุ่มงาน / บุคคล (เจ้าของโครงการและทีมงาน) 2. การคำนวณต้นทุน เพื่อการวางแผนการของบประมาณในอนาคต ตลอดจนกำหนดแผนการเพิ่มประสิทธิภาพหรือลดต้นทุน 3. การประเมินความคุ้มค่าของภารกิจในการนำส่งผลผลิตภาครัฐ สำหรับใช้ในการปรับบทบาทของกรมฯ ในอนาคต
ประโยชน์ของระบบบริหารจัดการงบประมาณ ช่วยแจ้งเตือน กรณีไม่รายงานความก้าวหน้าของงานและการใช้เงินในระบบ โดยแจ้งเตือนผ่านระบบเครือข่ายของกรมฯ ได้แก่ ระบบ SMS การเตือนทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ (Pop up Window) เมื่อผู้เกี่ยวข้อง Log in เข้าใช้งานระบบ / ผ่านทาง e-mail
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะการใช้งาน ผู้ใช้ยังไม่รู้จักประโยชน์ของการใช้ระบบนี้อย่างเต็มที่ ทำให้ไม่ลงข้อมูลอย่างครอบคลุม ถูกต้องและรวดเร็ว การใช้ประโยชน์จาก program จากทั้งผู้ลงข้อมูลและผู้บริหารของหน่วยงานยังมีไม่มาก ผู้ใช้ยังต้องลงข้อมูลในเอกสารในบางเรื่องทำให้ไม่สามารถลดงานและส่งผลต่อการไม่อยากลงข้อมูล
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะการพัฒนาระบบ Friendly Benefit Rapid Integrate
Friendly อ่านง่าย ลงข้อมูลง่าย เตือนเมื่อผิดทันที สามารถอ่านข้อความช่วยเหลือได้ทันทีที่จำเป็น ปรับปรุงง่าย
Benefit รายงานความก้าวหน้าแบบ real time Alert เมื่อไม่เป็นไปตามแผนหรือน่าจะมีสิ่งผิดปกติ ลดการใช้กระดาษลง เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลอื่นๆอย่างมีประสิทธิภาพ
Rapid การ transfer ประมวนผลต้องรวดเร็ว Save ข้อมูลที่จำเป็นเป็นระยะ
Integrate สามารถทำงานร่วมกับ program บริหารงานอื่นๆของกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อเสนอแนะอื่นๆ ปรับปรุง server ให้มีประสิทธิภาพ ปรับปรุง program ให้เป็น standalone ได้ ปรับปรุง bandwidth ให้ใช้งานได้ดี
ขอบคุณครับ