มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ การประเมินภายนอกรอบที่2 และการรับรองมาตรฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
KKU : แผนระยะยาว พ. ศ ( ) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ ) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ ) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
(ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ –2579)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
แอดมิชชั่น กลาง.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ การประเมินภายนอกรอบที่2 และการรับรองมาตรฐาน มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ การประเมินภายนอกรอบที่2 และการรับรองมาตรฐาน ศ.ดร.กิตติชัย วัฒนานิกร รองประธานกรรมการ กพอ. สมศ. กรรมการ คปภ. สกอ.

กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย รัฐบาล (ครม.) กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ ติดตามการปฏิบัติ จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ สกอ. ส่งเสริม/สนับสนุนการอุดมศึกษา กำหนดเกณฑ์มาตรฐาน และเกณฑ์การปฏิบัติ จัดระบบประกันคุณภาพภายใน (IQA) รับข้อเสนอแนะจาก สมศ. เพื่อปรับปรุงสถานศึกษาตามกำหนด สกศ. ต้นสังกัด สมศ. ก.พ.ร สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่ง ของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย รัฐบาล (ครม.) กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ ติดตามการปฏิบัติ จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ ก.พ.ร จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ติดตามประเมินผลด้านประสิทธิผล คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์กร เสนอผลการประเมิน และสิ่งจูงใจต่อ ครม. สกศ. ต้นสังกัด สมศ. สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย รัฐบาล (ครม.) กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ ติดตามการปฏิบัติ จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ สมศ. ประเมินผลการจัดการศึกษาของมหาฯ(EQA) รายงานการประเมินต่อรัฐบาล หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน รับรองมาตรฐานคุณภาพ/เสนอแนะการปรับปรุงสถานศึกษาต่อต้นสังกัด สกศ. ต้นสังกัด ก.พ.ร สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

กรอบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาไทย รัฐบาล (ครม.) กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรฐานชาติ ติดตามการปฏิบัติ จัดสรรงบประมาณ กระทรวงศึกษาธิการ ต้นสังกัด จัดระบบประกันคุณภาพภายใน (IQA) รับข้อเสนอแนะจาก สมศ. เพื่อปรับปรุงสถานศึกษาตามกำหนด สกศ. สมศ. ก.พ.ร สกอ. สถานศึกษา รับผิดชอบจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ โดยจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงานประจำตามปกติ (IQA)

ความสัมพันธ์ระหว่าง การประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก การประเมินภายนอก(ผลการจัดการศึกษา) รายงาน ประจำปีส่ง สกอ. ตรวจเยี่ยมโดย สมศ. การปฏิบัติงาน ของสถาบัน การประเมินตน เองของสถาบัน รายงานผล การประเมิน การติดตามผล ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ

การส่งเสริมระหว่าง IQA และ EQA ใช้รายงานการประเมินฉบับเดียวกัน ระบบข้อมูลเป็นระบบเดียวกัน สถาบันและต้นสังกัดมีผลการประเมินครบทุกด้านทุกปี ทั้ง Input, Process, Out put/Out come ทำให้ สามารถนำไปสู่การพัฒนา/ปรับปรุงก่อน สมศ. เข้าประเมิน สามารถตรวจสอบการบรรลุเป้าหมายและพัฒนาการได้ต่อเนื่องทุกปี และสอดคล้องกับการประเมินของ สมศ.

ความแตกต่างสำคัญของการประเมินรอบ2 ของสมศ. เทียบกับรอบแรก ประเมินสถาบันและกลุ่มสาขา ประเมินเพื่อรับรองมาตรฐานคุณภาพตามเกณฑ์(ได้มาตรฐาน มีพัฒนาการ และบรรลุเป้าหมาย) ประเมินตามจุดเน้นของสถาบัน(มีตัวบ่งชี้ร่วมและเฉพาะ)

การแบ่งกลุ่มสาขาวิชา ใช้แนวทางตามแบบของระบบการรับเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 1.กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (วิทยาศาสตร์สุขภาพ, สุขศึกษาและพลศึกษา, วิทยาศาสตร์การกีฬา) 2.กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ (คณะวิทยาศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ เทคโนโลยีสารสนเทศ) 3.กลุ่มสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ 4.กลุ่มสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5.กลุ่มสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ (คณะเกษตรศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร วนศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร)

การแบ่งกลุ่มสาขาวิชา 6.กลุ่มสาขาวิชาบริหาร (พาณิชยศาสตร์ การบัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว และโรงแรม เศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ) 7.กลุ่มสาขาวิชาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ (การสอน) 8.กลุ่มสาขาวิชาศิลปกรรม วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์(คณะศิลปกรรมศาสตร์ วิจิตรศิลป์ มัณฑศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์) 9.กลุ่มสาขาวิชามนุษย์และสังคมศาสตร์(คณะนิเทศศาสตร์ วารสารศาสตร์ อักษรศาสตร์ ศิลปะศาสตร์ มนุษยศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สังคมวิทยา สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เป็นต้น) 10.กลุ่มสาขาวิชาสหวิทยาการ คือสาขาวิชาที่มีหลักสูตรแบบสหวิทยาการ และสาขาวิชาอื่น ๆ นอกเหนือจาก 9 กลุ่มสาขาวิชาข้างต้น

มาตรฐานคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาของสมศ.รอบที่2 น้ำหนัก จำนวนตัวบ่งชี้ มาตรฐาน ๑-๔ 100 17+9* ๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต อย่างน้อย 20 6+2* ๒. มาตรฐานด้านงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ 5+2* ๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ 4+3* ๔. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม อย่างน้อย 10 2+2* มาตรฐาน ๕-๗ 60 22 ๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร 20 11 ๖. มาตรฐานด้านการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 9 ๗. มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพ 2 มาตรฐาน๑-๗ 160 39+9*

นิยามของจุดเน้นแต่ละกลุ่มสถาบัน 1. กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตและวิจัย เป็นกลุ่มสถาบันที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยเน้นด้านการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา และวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการและเผยแพร่ความรู้ไปสู่ผู้ใช้ทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยมุ่งสู่ความทันสมัย และสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล 2. กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม เป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่ ผลิตบัณฑิตระดับสูงในบางสาขาวิชาและเน้นการบริการวิชาการ/วิชาชีพแก่สังคม

นิยามของแต่ละกลุ่มสถาบัน 3. กลุ่มสถาบันที่เน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม เป็นกลุ่มสถาบันที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยมุ่งเน้นผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเป็นส่วนใหญ่ ผลิตบัณฑิตระดับสูงในบางสาขาวิชาโดยการประยุกต์ความรู้ เพื่อสร้างและพัฒนามาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งการเผยแพร่ความรู้ ภูมิปัญญาไทยสู่สากล 4. กลุ่มสถาบันเน้นการผลิตบัณฑิต เป็นกลุ่มสถาบันที่ปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา โดยมุ่งเน้นการสอนในระดับปริญญาตรี ประยุกต์ความรู้เพื่อใช้ในการผลิตบัณฑิต เป็นกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นการผลิตและพัฒนาบัณฑิตในด้านวิชาการและวิชาชีพต่างๆ

ตัวอย่างการกำหนดน้ำหนัก(ตามมติสภาฯ) กลุ่มสถาบันตามจุดเน้น น้ำหนักการปฏิบัติตามพันธกิจ สอน วิจัย บริการวิชาการ ทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 1. การผลิตบัณฑิตและวิจัย √√ (>or = 30%) √ (>or = 20%) (>or = 10%) 2. การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาสังคม 3. การผลิตบัณฑิต/พัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม 4. การผลิตบัณฑิต (>or = 35%)

๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตเป็นผู้เรืองปัญญามีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีทักษะและภูมิปัญญาในงานอาชีพในฐานะนักวิชาชีพชั้นสูง มีทักษะวิจัยในฐานะนักวิชาการชั้นสูง มีจิตสำนึกและภูมิธรรมในฐานะพลเมืองดีของสังคมไทยและสังคมโลก

๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ ๑.๑ ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำและการประกอบอาชีพอิสระ ภายใน ๑ ปี (๘๐,๘๐,๘๐,๘๐) ๑.๒ ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา (๘๐,๘๐,๘๐,๘๐)

๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้ ๑.๓ ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์ (๑๐๐,๑๐๐,๑๐๐,๑๐๐) ระวัง! เฉพาะป.ตรี ๑.๔ ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการและผู้ใช้บัณฑิต (๓.๕ จาก ๕ แต้มขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! เฉพาะป.ตรี และกรณีคะแนนเต็ม4ให้ใช้สูตรพัฒนาการ

๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ๑.๕ จำนวนนักศึกษา หรือศิษย์เก่าที่จบการศึกษาไม่เกิน ๓ ปี ที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในรอบ ๓ ปี ที่ผ่านมา (๒, ๑, ๑, ๑) ระวัง! ความหมายของเกณฑ์ และนับซ้ำ ๑.๖ จำนวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา (๙, ๓, ๓, ๓) ระวัง! นับซ้ำ

๑. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๑.๗ ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด (๖๐, ๔๐, ๓๐, ๓๐) ระวัง! ไม่นับซ้ำ ๑.๘ ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด (๗๕, ๖๐, ๖๐, ๖๐) ระวัง! ไม่นับซ้ำ

๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์เป็นงานนวัตกรรมที่นำไปสู่การสร้างและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่เชี่ยวชาญสูง การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ซึ่งเป็นการขยายพรมแดนของความรู้ และทรัพย์สินทางปัญญาที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้จริง เป็นปัจจัยสำคัญของการพัฒนาคุณภาพ ประสิทธิภาพ และขีดความสามารถของคนไทย รวมทั้งการพัฒนาสู่สังคมเรียนรู้ สังคมความรู้ และสังคมแห่งภูมิปัญญา อันก่อให้เกิดวัฒนธรรมการใช้ความรู้ในการกำหนดทิศทางและการพัฒนา ตลอดจนการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของประเทศ

๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๒.๑ ร้อยละของงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๓๐, ๓๐, ๓๐, ๓๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และนับชิ้นงาน(ไม่นับซ้ำ) ๒.๒ เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ของสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๓๐๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๕๐๐๐) ระวัง! ปีการศึกษา งบอนุมัติ และวิธีนับอาจารย์

๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๒.๓ เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๕๐๐๐๐, ๑๕๐๐๐, ๑๐๐๐๐, ๑๐๐๐๐) ระวัง! ปีการศึกษา และวิธีนับอาจารย์

๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้ ๒.๔ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๕๐, ๔๕, ๔๐, ๔๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และไม่นับซ้ำ ๒.๕ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๔๐, ๒๐, ๒๐, ๒๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และไม่นับซ้ำ

๒. มาตรฐานด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๒.๖ ร้อยละของจำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ (เช่นISI, ERIC) ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (๒๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และไม่นับซ้ำ ๒.๗ จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัติต่อจำนวนอาจารย์ประจำในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (๓)

๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ การให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่เป็นประโยชน์ เป็นที่พึ่งและเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการและวิชาชีพ เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมสอดคล้อง เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติ ตลอดจนการส่งเสริมบทบาททางวิชาการและวิชาชีพของสถาบันการศึกษาในการพัฒนาสังคมเรียนรู้และสังคมความรู้ โดยคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะ

๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้ ๓.๑ ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการ และพัฒนา/และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ(๓๐, ๔๐, ๔๐, ๓๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ ๓.๒ ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการและกรรมการวิชาชีพในระดับชาติ และนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ(๒๕, ๒๕, ๒๕, ๒๕) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ และไม่นับซ้ำ

๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้ ๓.๓ มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนและวิจัย (ระดับ ๓, ๔, ๓, ๓ ขึ้นไป) ๓.๔ ค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบันในการให้บริการวิชาการเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจำ (๗๕๐๐, ๑๐๐๐๐, ๗๕๐๐, ๗๕๐๐) ระวัง! ปีการศึกษา และวิธีนับอาจารย์

๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๓.๕ จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ(๔) ระวัง! ต้องมีเอกสาร ๓.๖ รายรับของสถาบันในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบันต่ออาจารย์ประจำ (๒๐๐๐๐) ระวัง! ปีการศึกษา และวิธีนับอาจารย์

๓. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๓.๗ ระดับความสำเร็จในการให้บริการทางวิชาการตาม พันธกิจของสถาบัน (ระดับ ๔ ขึ้นไป)

๔. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม การอนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา เผยแพร่เอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นมรดกไทย และการบูรณาการในการผลิตบัณฑิต การวิจัย และการบริการวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งการสร้างสรรค์และส่งเสริมภูมิปัญญาไทยให้เป็นรากฐานของการพัฒนาองค์ความรู้ที่สามารถพัฒนาสู่สากล

๔. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ ๔.๑ ร้อยละของจำนวนกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา (๒,๒,๓,๒) ระวัง! มีการปรับเกณฑ์ และวิธีนับ นศ. ๔.๒ ค่าใช้จ่าย และมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา (๑%, ๑%, ๒%, ๑%) ระวัง! ปีการศึกษา

๔. มาตรฐานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้เฉพาะ ๔.๓ มีผลงาน หรือชิ้นงานการพัฒนาองค์ความรู้และสร้างมาตรฐานศิลปะและวัฒนธรรม (๓) ๔.๔ ประสิทธิผลในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะ และวัฒนธรรม (ระดับ ๔)

๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร การบริหารและการจัดการศึกษาที่ประชาคมในและนอกสถาบันและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี เน้นการกระจายอำนาจ กำกับด้วย นโยบาย การวางแผน ภาวะผู้นำของผู้บริหาร การพัฒนาบุคลากร ที่เป็นระบบและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง การนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการเรียนการสอน การวิจัย และการบริหาร โดยมุ่งสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการรวมทั้งการสร้างเสถียรภาพทางการเงิน การใช้เงินอย่างคุ้มค่า มีอิสระคล่องตัวโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้

๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ตัวบ่งชี้ ๕.๑ สภาสถาบัน และผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่ขับเคลื่อนพันธกิจและสามารถสะท้อนถึงนโยบาย วัตถุประสงค์และนำไปสู่เป้าหมายของการบริหารจัดการ การบริหารแบบมีส่วนร่วมเน้นการกระจายอำนาจ โปร่งใส และตรวจสอบได้ มีความสามารถในการผลักดันสถาบันให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล (ไม่ต่ำกว่า ๕ ใน ๗ ข้อ ทุกกลุ่มสถาบัน)

๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ตัวบ่งชี้ ๕.๒ มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้ โดยอาศัยผลการประเมินจากภายในและภายนอก (ระดับ ๔ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๕.๓ มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ๕.๔ การใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกร่วมกัน

๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ๕.๕ ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารและการจัดการ (ระดับ ๓ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๕.๖ สินทรัพย์ถาวรต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) (๑๐๐,๐๐๐ บาททุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! ปีงบประมาณ และวิธีนับ นศ. ๕.๗ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) (±๔.๙๙% ทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! เกณฑ์ และวิธีคิด ตลอดจนใช้ปีงบประมาณ และระวังวิธีนับนศ. ๕.๘ ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่องบดำเนินการ (๑๐-๑๕% ของงบดำเนินการทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! ปีงบประมาณ

๕. มาตรฐานด้านการพัฒนาองค์การและบุคลากร ๕.๙ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ(๖๐,๕๐,๕๐,๕๐) ระวัง! ไม่นับซ้ำ ๕.๑๐ งบประมาณสำหรับการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ(๑๕๐๐๐,๑๐๐๐๐,๑๐๐๐๐,๑๐๐๐๐) ระวัง! ปีการศึกษา และวิธีนับอาจารย์ ๕.๑๑ ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ (๘๐,๗๐,๗๐,๗๐) ระวัง! วิธีนับบุคลากร และไม่นับซ้ำ

๖. มาตรฐานด้านการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน กระบวนการพัฒนาและบริหารหลักสูตรให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่น และสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสังคม มีการจัดการเรียนการสอนที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความต้องการ/ความสนใจของผู้เรียน โดยใช้เทคนิคการสอนและอุปกรณ์การสอนที่หลากหลาย มีการประเมินผลการเรียนการสอนตามสภาพจริง และมีการใช้ประโยชน์ผลการประเมินในการพัฒนาผู้เรียน การระดมทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก รวมทั้งความร่วมมือจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันอุดมศึกษา ในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร และกิจกรรมการศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด

๖. มาตรฐานด้านการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน ๖.๑ ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด (๑๐๐ ทุกกลุ่มสถาบัน) ๖.๒ จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (± ๕.๙๙% ของเกณฑ์) ระวัง! วิธีนับนศ.และอาจารย์ ๖.๓ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า (๖๐,๓๐,๒๐,๓๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์

๖. มาตรฐานด้านการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน ๖.๔ ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ(๗๐,๖๐,๕๐,๖๐) ระวัง! วิธีนับอาจารย์ ๖.๕ การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์(ระดับ ๔ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๖.๖ กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเฉพาะการเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง(๕ ใน๗ ข้อขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๖.๗ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ (ระดับ๓.๕ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! กรณีคะแนนเต็ม4ให้ใช้สูตรพัฒนาการ

๖. มาตรฐานด้านการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน ๖.๘ ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการพัฒนานักศึกษาเมื่อเทียบกับจำนวนนักศึกษา(๖๐%ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ระวัง! วิธีนับนศ. และไม่นับซ้ำ ๖.๙ ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา (๗๐๐๐,๖๐๐๐,๕๐๐๐,๖๐๐๐) ระวัง! วิธีนับนศ. และปีงบประมาณ

๗. มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพ ระบบการประกันคุณภาพภายใน หมายรวมถึงการพัฒนาคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินคุณภาพซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาเพื่อนำไปสู่การพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และสามารถรองรับการประกัน คุณภาพภายนอกได้

๗. มาตรฐานด้านระบบการประกันคุณภาพ ๗.๑ มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (ระดับ ๔ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน) ๗.๒ ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน (ระดับ ๔ ขึ้นไปทุกกลุ่มสถาบัน)

สรุปข้อพึงระวังในการรายงานแต่ละตัวบ่งชี้ การนับจำนวนบัณฑิต นักศึกษา อาจารย์ การคิดรอบปี อื่นๆ

จำนวนบัณฑิต (ศิษย์เก่า) จำนวนเฉพาะปริญญาตรี หรือ รวมบัณฑิตศึกษา? ตัวบ่งชี้ 1.1-1.4 เฉพาะ ป.ตรี ตัวบ่งชี้ 1.5 รวมบัณฑิตศึกษา

จำนวนนักศึกษา 1) นับเป็น FTES หรือ นับหัวนักศึกษา? (แต่น่าจะนับเป็นหัว นศ.) 2) นับเฉพาะภาคปกติ หรือ รวมภาคพิเศษ? ตัวบ่งชี้ 4.1 นับเฉพาะ FTES ภาคปกติ ตัวบ่งชี้ 6.2 นับ FTES ทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ ตัวบ่งชี้ 5.6, 5.7, 6.8, 6.9 ไม่ระบุว่ารวมหรือไม่ (แต่ควรรวม)

จำนวนนักศึกษา (ต่อ) 3) นับเฉพาะ ป.ตรี หรือ รวมบัณฑิตศึกษา? 3) นับเฉพาะ ป.ตรี หรือ รวมบัณฑิตศึกษา? ตัวบ่งชี้ 4.1 และ 6.8 นับเฉพาะ ป.ตรี ตัวบ่งชี้ 5.7 ระบุเป็นค่าใช้จ่ายระดับ ป.ตรี ต่อหัว (แต่การนับควรควรนับรวมบัณฑิตศึกษาโดยเทียบเป็น ป.ตรี) ตัวบ่งชี้ 6.2 นับ FTES รวมทั้ง ป.ตรี และ บัณฑิตศึกษา (โดยระบุให้เทียบเป็น ป.ตรี) ตัวบ่งชี้ 5.6 นับ FTES รวมทั้ง ป.ตรี และ บัณฑิตศึกษา (โดยไม่ระบุให้เทียบเป็น ป.ตรี แต่ควรเทียบ) ตัวบ่งชี้ 6.9 ไม่ระบุชัดเจน (แต่ควรนับรวมและเทียบเป็น ป.ตรี)

จำนวนคณาจารย์ 1) นับเฉพาะอาจารย์ หรือ รวมนักวิจัย? 1) นับเฉพาะอาจารย์ หรือ รวมนักวิจัย? ตัวบ่งชี้ 2.1-2.6 นับรวมนักวิจัย ตัวบ่งชี้อื่นๆ ไม่รวม 2) นับเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง หรือ รวมศึกษาต่อ? ตัวบ่งชี้ 2.1-2.5, 3.1, 3.4, 3.6, 6.2 นับเฉพาะปฏิบัติงานจริง ตัวบ่งชี้ 2.6, 3.2, 5.10, 5.11, 6.3, 6.4 นับรวมผู้ลาศึกษาต่อ

การนับ นับซ้ำ หรือ ไม่นับซ้ำ? ตัวบ่งชี้ที่ 1.5, 1.6 นับซ้ำ ตัวบ่งชี้ที่ 1.7, 1.8, 2.1, 2.4-2.6, 3.2, 5.9, 5.11, 6.8 ไม่นับซ้ำ

การคิดรอบปี รอบปีงบประมาณ หรือ รอบปีการศึกษา? ตัวบ่งชี้ที่ 5.6, 5.7, 5.8, 6.9 คิดรอบปีงบประมาณ ตัวบ่งชี้ที่ 2.2, 2.3, 3.4, 3.6, 4.2, 5.10 คิดรอบปีการศึกษา

ข้อสังเกตอื่นๆ เกี่ยวกับตัวบ่งชี้ 1) ความหมายของงานวิจัยและสร้างสรรค์ ( ตำรา? ) 2) การคิดมูลค่า (ตัวบ่งชี้ 3.4, 4.2) 3) การตีความคำว่า “หลักสูตรที่ได้มาตรฐาน” การคิดตำแหน่งวิชาการ การประเมินพัฒนาการและบรรลุเป้าหมาย การคำนวณตามเกณฑ์ (เช่น ตัวบ่งชี้ 5.7และ6.2)

การคิดพัฒนาการและบรรลุเป้าหมาย 1) การคิดพัฒนาการ (เมื่อไม่สามารถหาข้อมูลปีที่ประเมินรอบแรกในตัวบ่งชี้นั้น) y = 4/3x – 1/3 y = คะแนนใหม่ที่ปรับ (เต็ม 5) x = คะแนนอิงเกณฑ์ + คะแนนบรรลุเป้า (ยกเว้นผลการประเมินครั้งนี้ได้ 1 จากการอิงเกณฑ์ และ 1 เป็นค่าต่ำสุดของเกณฑ์ในตัวบ่งชี้นั้น เช่น ตัวบ่งชี้ที่ 6.2) 2) การบรรลุเป้าหมาย : ควรเป็นเป้าหมายซึ่งเท่ากับหรือมากกว่าสิ่งที่เคยทำได้มาแล้วในการประเมินรอบที่ 1

การคำนวณตามเกณฑ์ 1) การคิดค่าใช้จ่ายต่อหัวระดับสถาบัน (ตัวบ่งชี้ 5.7) FTES1 x เกณฑ์1 + FTES2 x เกณฑ์2 + ... +FTES(n) x เกณฑ์(n) ผลรวม FTES ทั้งหมด 2) การคิดสัดส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ระดับสถาบัน (ตัวบ่งชี้6.2)

เกณฑ์ของคุณภาพ ได้มาตรฐาน สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ และ ตอบสนองความคาดหวังผู้มีส่วนได้เสีย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องสู่ความเป็นเลิศ

เกณฑ์การให้คะแนนตัวบ่งชี้ (คะแนนเต็ม 5) โดยแยกการให้คะแนนดังนี้ 1. คะแนนมาตรฐาน ผันแปรตามกลุ่มสถาบัน (คะแนนเต็ม 3 : 0,1,2,3) ก) คะแนนพัฒนาการพิจารณาเทียบกับผลประเมินรอบแรก(คะแนนเต็ม 1 : 0,1) ข) คะแนนพัฒนาการพิจารณาจากสมการ(คะแนนเต็ม 1 : 0.0,0.33,0.67,1) คะแนนการบรรลุเป้าหมายตามแผนของสภาสถาบัน(คะแนนเต็ม 1 : 0,1)

การให้คะแนนระดับตัวบ่งชี้ คะแนนจากมาตรฐานขั้นต่ำ + คะแนนพัฒนาการ + คะแนนการบรรลุแผน = คะแนนตัวบ่งชี้ (เต็ม 5 )

การคำนวณคะแนนรายมาตรฐาน คะแนนรายมาตรฐาน หรือ (เต็ม 5) W หมายถึง น้ำหนักความสำคัญที่ให้กับแต่ละตัวบ่งชี้โดยสถาบันอุดมศึกษา ผลรวมของน้ำหนักทุกตัวบ่งชี้จะมีค่าเท่ากับน้ำหนักรวมของมาตรฐานนั้นหรือ ΣWi = น้ำหนักรวมของมาตรฐานนั้น I หมายถึง คะแนนของตัวบ่งชี้ย่อยที่ได้จากการประเมินโดยผู้ประเมินภายนอก i หมายถึง ลำดับที่ของตัวบ่งชี้, i = 1, 2, 3, ....i

การคำนวณคะแนนระดับกลุ่มสาขาและระดับสถาบัน คะแนนรายกลุ่มสาขาหรือสถาบัน (เต็ม 5) หรือ W หมายถึง น้ำหนักความสำคัญที่ให้กับแต่ละมาตรฐาน โดย สถาบันอุดมศึกษา กำหนดตามความสำคัญของพันธกิจ โดยที่ ΣWi= 100 กรณีคำนวณ 4 มาตรฐานแรก ΣWi= 160 กรณีคำนวณรวม 7 มาตรฐาน S หมายถึง คะแนนของมาตรฐานที่ได้จากการคำนวณในขั้นตอนการคำนวณคะแนนรายมาตรฐาน i หมายถึง ลำดับที่ของมาตรฐาน, i = 1,2,3,....,7

ความหมายของคะแนน ช่วงคะแนน ผลการประเมิน ความหมาย 4.51-5.00 ดีมาก ผลการจัดการศึกษาได้มาตรฐานซึ่งนำไปสู่การรับรองมาตรฐาน 3.51-4.50 ดี 2.51-3.50 พอใช้ ผลการจัดการศึกษาเกือบได้มาตรฐานซึ่งนำไปสู่การรับรองแบบมีเงื่อนไข 1.51-2.50 ควรปรับปรุง ผลการจัดการศึกษาไม่ได้มาตรฐาน 1.00-1.50 ต้องปรับปรุง

การตัดสินการรับรองสาขาและสถาบัน สาขาและสถาบันจะได้รับการรับรองเมื่อ: 1. คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักรวมทุกมาตรฐาน = 3.51 หรือมากกว่า และ 2. มีอย่างน้อย 5 มาตรฐานที่ผลประเมินได้คะแนน = 3.51 หรือมากกว่า และ 3. ไม่มีมาตรฐานใดที่ผลประเมินต่ำกว่า 1.51

การตัดสินการรับรองสาขาและสถาบัน (ต่อ) สาขาและสถาบันจะได้รับการรับรองแบบมีเงื่อนไขเมื่อ: กรณีที่ 1 1. คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักรวมทุกมาตรฐาน = 2.51 หรือมากกว่า และ 2. 4 มาตรฐานแรกมีคะแนนเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก = 3.51 หรือมากกว่า และ 3.ใน 4 มาตรฐานแรกไม่มีมาตรฐานใดมีคะแนนต่ำกว่า 1.51 กรณีที่ 2 1. คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักรวมทุกมาตรฐาน = 3.51 หรือมากกว่า และ 2. 4 มาตรฐานแรกมีคะแนนเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก = 3.51 หรือมากกว่า แต่ มีไม่ถึง 5 มาตรฐานที่ได้คะแนน = 3.51 หรือมากกว่า และ 3. ใน 4 มาตรฐานแรกไม่มีมาตรฐานใดมีคะแนนต่ำกว่า 1.51

ในกรณีการรับรองสถาบัน สถาบันอาจเลือกใช้อีกแนวทางก็ได้คือ สถาบันจะได้รับการรับรองเมื่อ: 1. มีอย่างน้อย 3 ใน 4 ของกลุ่มสาขาวิชาได้รับการรับรอง และ 2. ไม่มีกลุ่มสาขาใดมีผลการประเมินต่ำกว่า 1.51

ข้อเสนอแนะตารางการตรวจสอบข้อมูลของตนเอง มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ น้ำ หนัก ผลดำเนินงาน เป้าหมาย2550 ผลการประเมิน(คะแนน) คะแนนถ่วงน้ำหนัก ตัวตั้ง 47 ตัวหาร 47 ผลปี 2547 (คะแนน) ตัวตั้ง 50 ตัวหาร 50 ผลปี 2550 (คะแนน) ตามเกณฑ์ (0,1,2,3) พัฒนาการ บรรลุเป้า (0,1) คะแนนรวม 3. มาตรฐานด้านการบริการวิชาการ 35   3.1 ร้อยละของกิจกรรม / โครงการบริการวิชาการต่ออาจารย์* 4.38 22 37  59.46 (3) 57 154.05 50% 3.2 ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษาเป็นกรรมการภายนอกสถาบัน* 4.37 7 43 16.28 (2)  10 45 22.22 20% 3.3 การนำความรู้จากการบริการวิชาการมาใช้พัฒนาการสอนและการวิจัย ระดับ 2 ระดับ 5 ระดับ 3 3.4 ค่าใช้จ่าย และมูลค่าในการบริการวิชาการต่ออาจารย์ 121,200 425,097 10,000 3.5 จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ 5.84 ศูนย์ 3 2 แหล่ง 3.6 รายรับของสถาบันในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบันต่ออาจารย์ประจำ 5.83 84,398 604,081 3.7 ระดับความสำเร็จในการให้การบริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน NA