อุทิศตน พัฒนาคน สร้างชุมชนอย่างยั่งยืน สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปี ๒๕๕๗ อุทิศตน พัฒนาคน สร้างชุมชนอย่างยั่งยืน
คำขวัญจังหวัดสุพรรณบุรี “เมืองยุทธหัตถี วรรณคดีขึ้นชื่อ เลื่องลือพระเครื่อง รุ่งเรืองเกษตรกรรม สูงล้ำประวัติศาสตร์ แหล่งปราชญ์ศิลปิน ภาษาถิ่นชวนฟัง”
คำขวัญอำเภอเมืองสุพรรณบุรี “หลวงพ่อโตคู่บ้าน แหล่งตำนานขุนช้างขุนแผน ดินแดนพระผงสุพรรณ โบราณสถานวัดสนามชัย ไหว้ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ลือเลื่องปลาสลิดดอนกำยาน หอคอยบรรหารงามสง่า วังมัจฉาวัดพระนอน มังกรสวรรค์เมืองสุพรรณบุรี
อัตรากำลังเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมือง นางพันทิพา ทิพวรรณ พัฒนาการอำเภอเมือง นางนิตยา ภิรมย์ปั้น หัวหน้างานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน นางเกศกร ตุนา นักวิชาการพัฒนาชุมชน ชำนาญการ นางพจนีย์ รางแดง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญ การ นางสาวนลินวัสสาภาณุลภัสศิริ ลูกจ้างกองทุนหมู่บ้าน
นายธนากร ระวงศ์ นายวรพล โม่งตา นางสาววิรัตน์ สฏิปฐาน หัวหน้างานสารสนเทศ การพัฒนาชุมชน นางอาภรณ์วิมลรัตนชัยศิริ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ นายธนากร ระวงศ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ นายวรพล โม่งตา นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ
นางวันดี มูลจันทร์ นางสาวฐิติมา สว่างศรี ลูกจ้างงานสตรี นางสกลวรรณ พัวพิทักษ์ชัย หัวหน้างานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน นายอุดมศักดิ์ นิสัยหาญ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ นางวันดี มูลจันทร์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ นางสาวฐิติมา สว่างศรี ลูกจ้างงานสตรี
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองสุพรรณบุรี ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองสุพรรณบุรี อำเภอเมืองสุพรรณบุรีเป็นเมืองเก่าแก่เมืองหนึ่งในอดีตจะเห็นได้จากซากกำแพงเมืองที่ยังเหลืออยู่ เดิมตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของแม่น้ำท่าจีนในเขตตำบลรั้วใหญ่เรียกว่า " ศาลแขวงท่าพีเลี้ยง"
ที่ตั้ง อาณาเขต
นายสฤษฎิ์ น้ำค้าง นายอำเภอเมืองสุพรรณบุรี ผู้นำในการปกครอง นายสฤษฎิ์ น้ำค้าง นายอำเภอเมืองสุพรรณบุรี
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองสุพรรณบุรี การดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล 1. โครงการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) มีผลิตภัณฑ์รวมจำนวน 50 ผลิตภัณฑ์ รายได้รวมจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ (ตุลาคม 2556-กันยายน 2557) จำนวน 155,923,8000 บาท
2. กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 2.1 มีคณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จำนวน 20 ตำบล 240 คน มีสมาชิก ณ ปัจจุบัน รวม 23,092 คน
รวมจำนวน 215 โครงการ เป็นเงินทั้งสิ้น 11,104,000 บาท 2.2 เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณโครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี วงเงินอำเภอเมืองสุพรรณบุรี ได้รับการจัดสรร ปีงบประมาณ 2557 ประเภทเงินอุดหนุนสมาชิก 15 คนขึ้นไป 87 โครงการ เป็นเงิน 1,851,665 บาท ประเภทเงินทุนหมุนเวียนสมาชิก 5 ขึ้นไป128 โครงการ เป็นเงิน 9,390,873 บาท รวมจำนวน 215 โครงการ เป็นเงินทั้งสิ้น 11,104,000 บาท
ผลงานเด่น ประเภทเงินอุดหนุน โครงการส่งเสริมอาชีพทำไม้กวาดดอกหญ้า ต.ดอนตาล
โครงการอบรมเพิ่มศักยภาพอาชีพการนวด อบสมุนไพรไทย ต.ดอนกำยาน
โครงการอบรมอาชีพการจัดดอกไม้ และการผูกผ้าในงานพิธีต่างๆ ต.บางกุ้ง
ผลงานเด่น ประเภทเงินทุนหมุนเวียน โครงการสนับสนุนการทำริบบิ้นพวงมาลัย ต.สนามชัย
โครงการขายอาหารเครื่องดื่มแบบพอเพียง ต.รั้วใหญ่ โครงการขายอาหารเครื่องดื่มแบบพอเพียง ต.รั้วใหญ่
การแก้ไขปัญหายาเสพติด กองทุนแม่ของแผ่นดิน จำนวน 29 หมู่บ้านต้นกล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปี งบประมาณ 2558 จำนวน 2 กองทุน รวมเป็น 31 กองทุน
กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง กองทุนหมู่บ้านจำนวน 135 กองทุน กองทุนหมู่บ้าน 124 กองทุน - กองทุนชุมชนเมือง 11 กองทุน มีสมาชิกรวม 35,899 คน
การดำเนินกิจกรรมพัฒนาชุมชน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี 2557 บ้านสามหน่อ หมู่ที่ 3 ตำบลโคกโคเฒ่า ระดับพออยู่ พอกิน ประเมินความสุขมวลรวม = 95 คะแนน กิจกรรมเด่น ปลูกผักริมคลองสวนครัว
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 36 กลุ่ม เงินสัจจะรวม26,901,99 บาท สมาชิก 6,020 คน
การบริหารการจัดเก็บข้อมูลปี 2557 1. ข้อมูล จปฐ. (เขตชนบท) จำนวน 30,485 ครัวเรือน ประชากร 95,137 คน เพศชาย 45,401คน เพศหญิง49,736 คน 2. ข้อมูล พื้นฐาน (เขตเมือง) จำนวน 12,234 ครัวเรือน ประชากร 33,743 คน เพศชาย 15,800 คน เพศหญิง 17,943 คน
แผนชุมชน เข้ารับการประเมินรับรองมาตรฐานแผน ปี 2557 จำนวน 37 หมู่บ้าน
กองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) เข้ารับการประเมินรับรองมาตรฐานแผน ปี 2557 จำนวน 37 หมู่บ้าน กองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน (กข.คจ.) บ้านวังพระนอน หมู่ที่ 4 ตำบลดอนกำยาน
ศอช.ต. ปี 2557 ได้แก่ ตำบลพิหารแดง
ตำบลคนดีศรีสุพรรณ ปี 2557 ตำบลโคกโคเฒ่า
งานตามยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน/งานตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน (PA/IPA) ประจำปีงบประมาณ 2557
1.ยุทธศาสตร์สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข 1.1 การแก้ไขครัวเรือนยากจนเชิงบูรณาการ
1.2 เสริมสร้างความสุขมวลรวมหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 124 หมู่บ้าน
2.ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความสามารถการบริหารจัดการชุมชน
พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการและการตลาด 2.ยุทธศาสตร์ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาผู้ผลิต ผู้ประกอบการและการตลาด
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการให้บริการ 3.ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นเผยแพร่สู่เวทีโลกเศรษฐกิจ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการให้บริการ ศูนย์บริการส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก
ส่งเสริมธรรมาภิบาลกองทุน(กขคจ. กลุ่มออมทรัพย์ฯ กทบ.) 3.ยุทธศาสตร์ส่งเสริมเสริมสร้างธรรมาภิบาล ส่งเสริมธรรมาภิบาลกองทุน(กขคจ. กลุ่มออมทรัพย์ฯ กทบ.)
กิจกรรมเด่น อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2557 กิจกรรมเด่น อำเภอเมืองสุพรรณบุรี ปีงบประมาณ 2557 โครงการรวมพลังสตรีเมือง เสริมพลังสตรีไทย ปี 2557
ชนะเลิศกิจกรรมคณะกรรมการพัฒนาสตรีตำบล (กพสต.) ปี ๒๕๕๗ คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับตำบล (กพสต.) ตำบลสระแก้ว