ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้ชุดการสอนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 เรื่องการปรับปรุงบัญชี ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาพณิชยการ และการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
Advertisements

วิจัยเรื่อง “ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชา คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยใช้เทคนิคร่วมกันคิด” โดย นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง สภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาของครู ผู้วิจัย
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
ปี 2 ห้อง 1 โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้เสนอ นางสาวนิภาพร วิริยะประกอบ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวนรินรัตน์ กล้าหาญ
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ลิ้มปองทรัพย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ เลขที่ 2 ถนนมหาราช แขวง พระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะ.
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีเบื้องต้น 1 โดยใช้สื่อ Power Pointของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ โปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
เรื่อง ปัจจัยจูงใจการเข้า ศึกษาใน วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โดย นายกิตติภูมิ พานทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญา ภิวัฒน์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ รายบุคคลทางการคำนวณและ การใช้สูตรฟังชั่นอย่างง่ายโดย โปรแกรม Microsoft Excel ในวิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ เพื่องานอาชีพ ผู้วิจัย.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีสาร สาสน์ Sarasas Technological College นางสาวธัชชา สิงควะ นิช 2558.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่ วิชาชีพ สถานศึกษา พอเพียง การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการ
วัตถุประสงค์การวิจัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการ พลาญชัยร้อยเอ็ด
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
การนำเสนอผลงานการวิจัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ 6
ชื่อเรื่อง : แรงจูงใจที่ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย : นางสาวสิริรัตน์ เทียมเสรีวงศ์
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีเกษมสันต์บริหารธุรกิจ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิธีการแก้ปัญหาการอธิบายกลไกลการทำงานเกียร์ขับเคลื่อนล้อหลัง 5 สปีด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์ งานวิจัยเรื่อง ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ ผู้วิจัยโดย นางสาวกุลธิดา มีสัตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญภิวัฒน์

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา มีความสนใจที่จะศึกษาถึงปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์เพื่อเป็นประโยชน์ เป็นเสมือนกระจกสะท้อนกลับให้สถาบันได้นำไปใช้พัฒนาด้านการบริหารจัดการสถาบันด้านการศึกษา การประชาสัมพันธ์ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย และใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรม แนะแนวนักเรียนสำหรับการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี และเพื่อนำมาพัฒนาคุณภาพการผลิตนักเรียนนักศึกษาต่อไป

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาปัจจัยทางประชากรศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ของนักเรียนระดับ ปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ 3. เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับ ปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ จำแนกตามเพศ ผลสัมฤทธิ์การเรียน อาชีพของผู้ปกครอง รายได้ของผู้ปกครอง และระดับการศึกษาของผู้ปกครอง

คำถามงานวิจัย 1. ความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ของนักเรียนระดับ ปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ อยู่ในระดับใด 2. มีปัจจัยส่วนประสมการตลาดใดบ้างที่นักเรียนใช้ตัดสินใจเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ 3. นักเรียนที่มีเพศ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายได้ของผู้ปกครอง ระดับการศึกษาของผู้ปกครองและอาชีพของผู้ปกครองแตกต่างกันมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์แตกต่างกันหรือไม่

ขอบเขตงานวิจัย 1. ด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้วิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับ ปวช. 3ของวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ จำนวน 445 คน นำมากำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973, p.125) ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ยอมให้คลาดเคลื่อนร้อยละ 5 ได้จำนวนทั้งสิ้น 210 คน ที่ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555

ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ตัวแปรอิสระ 1. ผลสัมฤทธิ์การเรียน 2. อาชีพของผู้ปกครอง 3. รายได้ของผู้ปกครอง 4. ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง 5. ปัจจัยส่วนประสมการตลาด (ด้านหลักสูตร,อัตราค่าเล่าเรียน, ช่องทางการจัดจำหน่าย, กิจกรรมการส่งเสริมการตลาด, ด้านบุคคล, สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และกระบวนการ) ตัวแปรตาม การตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ของนักเรียนระดับ ปวช. 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์

กรอบแนวคิดในการศึกษา ปัจจัยส่วนบุคคล 1. เพศ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. อาชีพของผู้ปกครอง 4. รายได้รวมต่อเดือนของครอบครัว 5. ระดับการศึกษาของผู้ปกครอง ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (7P’s) 1. ด้านหลักสูตร (Product) 2. ด้านอัตราค่าเล่าเรียน (Price) 3. ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (Place) 4. ด้านกิจกรรมส่งเสริมการตลาด (Promotion) 5. ด้านบุคคล (People) 6. ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Evidence) 7. ด้านกระบวนการ (Process) การตัดสินใจเลือกเข้า ศึกษาต่อสถาบันการ จัดการปัญญาภิวัฒน์

สรุปผลการวิจัย ปัจจัยทางประชากรศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจในการเลือกเข้าศึกษาต่อฯ ของนักเรียน * เกรดเฉลี่ยสะสมในช่วง 3.01 – 3.50 * ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับ ม.ปลาย/ปวช * รายได้ต่อเดือนของผู้ปกครองส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 10,001 – 20,000 บาท * อาชีพส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจส่วนตัวหรือแม่บ้าน

สรุปผลการวิจัย ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ ในการเลือกเข้าศึกษาต่อฯ ของนักเรียน * ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านก็อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน 1. ด้านหลักสูตร (Product) 2. ด้านอัตราค่าเล่าเรียน (Price) 3. ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (Place) 4. ด้านกิจกรรมส่งเสริมการตลาด (Promotion) 5. ด้านบุคคล (People) 6. ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical) 7. ด้านกระบวนการจัดการ (Process)

สรุปผลการวิจัย ผลการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ โดยจำแนกจากเพศ เกรดเฉลี่ยสะสม ระดับการศึกษาของผู้ปกครองที่แตกต่างกัน มีผลต่อการเลือกเข้าศึกษาต่อสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ไม่แตกต่างกัน