การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

เป้าหมาย เพื่อประสบผลสำเร็จในการลดผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวีรายใหม่โดยการบูรณา การยุทธศาสตร์และการปฏิบัติการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด และส่วนกลางที่ครอบคลุมเยาวชนอายุ
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
สัปดาห์ที่ 2 เรื่อง โครงการสุขศึกษา
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
Research Mapping.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ผลกระทบการเปิดประตูสู่อาเซียน
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การบริหารจัดการท้องถิ่น
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การปฏิบัติงานร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
3.การจัดทำงบประมาณ.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
กลุ่มที่ 6 วัดเขาทุเรียน ( วัดสีชมพู ) สุดยอดส้วม ระดับประเทศปี 2552 ประเภท ศาสนสถาน.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยเรื่อง สิทธิมนุษยชน
การพัฒนาองค์กรสตรี กรมการพัฒนาชุมชน ดําเนินการ พัฒนาสตรีมาพร้อม ๆ กับการก่อตั้งกรมฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๕ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี พัฒนาครอบครัว พัฒนาอาชีพ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี พ. ศ * ดร. สมจิตต์ สุพรรณทัสน์ คณบดี คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (25/4/48)

เป้าหมายคนไทยแข็งแรง มี 17 เป้าหมาย เช่น สติปัญญา ความเฉลียวฉลาด ระดับอารมณ์ อายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกาย สม่ำเสมอ มีการศึกษาภาคบังคับ 12 ปี ครอบครัวอบอุ่น อายุขัยเฉลี่ยสูงขึ้น ฯลฯ

คนไทยแข็งแรง ดู จากหลายมิติ แข็งแรงด้านการเมือง แข็งแรงด้านเศรษฐกิจ แข็งแรงด้านศาสนา แข็งแรงด้านการศึกษา แข็งแรงด้านวัฒนธรรม แข็งแรงด้านความมั่นคง แข็งแรงด้านสุขภาพ

เฉพาะมิติ แข็งแรงด้านสุขภาพ ดูจากหลายมิติ มิติที่ 1 ดูจาก 1.1 สุขภาพกาย 1.2 สุขภาพจิต 1.3 สุขภาพสังคม 1.4 สุขภาพปัญญา

มิติที่ 2 ดูจาก 2.1 ความรู้ด้านสุขภาพ 2.2 ทัศนคติ, ค่านิยม 2.3 การปฏิบัติ

มิติที่ 3 ดูจาก 3.1 สุขภาพของบุคคล 3.2 สุขภาพของครอบครัว 3.3 สุขภาพของชุมชน

มิติที่ 4 ดูจาก 4.1 พฤติกรรมการป้องกันโรค 4.2 พฤติกรมการส่งเสริม สุขภาพ 4.3 พฤติกรรมการรักษาโรค 4.4 พฤติกรรมการฟื้นฟู บำบัด สุขภาพ

เมืองไทยแข็งแรง ดูจาก หลายมิติ มิติที่ 1 ดูจากองค์กรต่างๆ ที่รวมกัน เป็นส่วนของประเทศ 1.1 องค์การบริหารส่วนตำบล 1.2 เทศบาล 1.3 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1.4 กระทรวง ทบวง กรม

1.5 รัฐวิสาหกิจ 1.6 องค์กรเอกชน 1.7 พฤติกรรมการรักษาโรค 1.8 หน่วยงานในกำกับรัฐ ( มหาวิทยาลัยนอกระบบ ) ฯลฯ

มิติที่ 2 ดูจากระบบต่างๆ ของ ประเทศ 2.1 ระบบการเมือง 2.2 ระบบศาสนา 2.3 ระบบวัฒนธรรม 2.4 ระบบการศึกษา 2.5 ระบบเศรษฐกิจ 2.6 ระบบสาธารณสุข ฯลฯ

มิติที่ 3 ดูจากบุคคลที่รวมตัว เป็นประเทศ 3.1 บุคคลแต่ละคน 3.2 ครอบครัว 3.3 ชุมชน

มิติที่ 4 ดูจากอาณาเขตการ บริหาร 4.1 คุ้ม, หมู่ 4.2 บ้าน 4.3 ตำบล 4.4 อำเภอ 4.5 จังหวัด 4.6 ประเทศ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดูแลด้านสุขภาพ 1. อบต. 2. เทศบาล 3. อบจ.

อบต. อบต. ชั้น 1 อบต. ชั้น 2 อบต. ชั้น 3 อบต. ชั้น 4 อบต. ชั้น 5

อบต. ชั้น 1 มีรายได้ 20 ล้าน มีอยู่ 74 แห่ง จาก 6,799 แห่ง ( พ. ศ. 2545)

อบต. ชั้น 1 พนักงาน 21 คน มีส่วนสาธารณสุข

อบต. ต้องทำงานด้านสุขภาพ ตามหน้าที่อำนาจที่กำหนดไว้ ตาม พรบ. กำหนดกำหนดแผนและ ขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ. ศ ได้กำหนดอำนาจและหน้าที่ ในหมวด 2 มาตรา 16 ซึ่งมีงานที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชาชน ทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ มาตรา 16

(3) การจัดให้มีการควบคุมตลาด (10) การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส (12) การปรับปรุงแหล่งชุมชน แออัด และการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่ อาศัย (13) การจัดให้มีการบำรุงรักษา สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ (17) การรักษาความสะอาดและ ความเป็นระเบียบของบ้านเมือง

(18) การเก็บขยะมูลฝอย สิ่ง ปฏิกูลและน้ำเสีย (19) การสาธารณสุข การ อนามัยครอบครัว และการ รักษาพยาบาล (21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์ (23) การอนามัยในโรงมหรสพ และสาธารณบันเทิงอื่นๆ (28) การควบคุมอาหาร

ผู้เขียนใคร่ขอขยายความหมาย ของการสาธารณสุข ในเชิงวิชาชีพ แล้วการสาธารณสุขจะครอบคลุม งานด้าน การป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูบำบัด

ผู้เขียนได้กล่าวมาแล้วใน ตอนต้นว่า การดูสังคมต้องดูใน ภาพรวม ดูความสัมพันธ์ของระบบ ของปัจจัยขององค์ประกอบต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง สอดคล้องกัน อำนาจและ หน้าที่ในการดำเนินงาน (3), (10), (12), (13), (17), (18), 19), (21), (23), และ (28) ล้วนแต่มี ความสัมพันธ์กับสุขภาพของบุคคล ทั้งสิ้น

อบต. มีภาระหน้าที่ ต้อง กำหนดนโยบายด้านสุขภาพ กำหนดแผนปฏิบัติงาน จัดสรรงบประมาณ ดำเนินการ ควบคุม ติดตาม ประเมินผล

อบต. ต้องดู คนในหน่วยงาน * จัดหาทั่วไป * จัดหาจากพื้นที่ ให้ทุน * พัฒนาศักยภาพคนที่มีอยู่ * ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ในการ ใช้คน งบประมาณ การดำเนินการ * ชมรมสุขภาพ ในชุมชน

การดูคน งาน ระบบ พื้นที่ทุกอย่าง ต้องมองใน ภาพรวม ทุกอย่างมีความ เชื่อมโยง เป็นเหตุเป็นผล มีผลกระทบซึ่งกันและกัน