ข้อสังเกตคำบาลีและสันสกฤต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements


๑ ชุดที่๓ ต่อไป.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระบบ เสียง ในภาษาไทย เสียง เกิดจากลมที่เคลื่อนตัวจากปอดผ่านหลอดลม ลำคอ กล่องเสียง ช่องปาก จมูก เพดาน ลิ้น ฟัน ริมฝีปาก.
แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์. แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รวบรวมขึ้นไว้
ขอบเขตการใช้กฎหมายอาญา
สถานที่ที่กฎหมายอาญาใช้บังคับ
CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI CAI
นางสาวดวงเดือน สร้อยจิตร สำนักงานเขตบางคอแหลม
POWERPOINT ประกอบการสอนกลุ่มสาระภาษาไทย
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
ผู้จัดทำ นางนพมาศ สวัสดินันทน์ ตำแหน่ง ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
เรื่องความรู้ทางภาษา
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การแจกลูกและการสะกดคำ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ.เมือง จ. พะเยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
ยินดีต้อนรับสู่กิจกรรม
คำภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย
สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
ตัวเลขไทย.
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
Thai Handwritten Character Recognition by Artificial Neural Networks
มาตรฐานวิชาชีพครู.
งานสารบรรณ สุภิสสา วรรธนาคม กลุ่มบริหารทั่วไป สำนักบริหารกลาง
วิชาวิถีธรรมวิถีไทย รหัส เรื่อง...บาลีศึกษาเบื้องต้น
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (8) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.

๓. พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ กด
๒.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กก”
๔.พยัญชนะท้ายพยางค์“แม่กน”
สื่อการเรียนการสอน Multipoint Mouse เรื่อง จำนวนนับ ชั้นอนุบาล 2
โรงเรียนบ้านละหาร เสนอ
เรื่อง คำที่ใช้ รร ( ร หัน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนชุมชนศิลาเพชร สพท.น่าน เขต ๒
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ภาษาบาลี-ภาษาสันสกฤต
Logo  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจัดการศึกษา  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 เรื่อง การบวก.
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
การเขียน.
อาจารย์ประจำสำนักวิชาศึกษาทั่วไป
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ ( ภาษาบาลี - ภาษาสันสกฤต )
ตามอาตมาไปอ่านภาษาบาลีกัน
จักรยาน.
คำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา กระทรวงศึกษาธิการ. ขอบข่ายงานวิจัย ปัจจุบัน ประเภทของการวิจัย การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ (LRRD) การวิจัยพื้นฐาน การวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
ด.ช.ธิติวุฒิ ปั้นจาด ชั้น ป. ๕/๘ เลขที่ ๔๖
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
แผนการจัดการเรียนรู้
คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
สื่อเสริมความรู้เรื่อง คำ ร หัน (รร)
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อสังเกตคำบาลีและสันสกฤต หลักสังเกตทั่วไป ส่วนมากเป็นคำหลายพยางค์ เช่น บิดา อาคาร กุญชร สวรรค์ ฯลฯ มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา เช่น พยัคฆ์ รัชกาล สัญญา มัตสยา ฯลฯ มีตัวการันต์ เช่น สังข์ นิตย์ สัตว์

หลักสังเกตเฉพาะคำบาลี ๑. มีตัวสะกดและตัวตาม ซึ่งเป็นพยัญชนะวรรคเดียวกัน ดังนี้ ตัวสะกด ตัวตาม ตัวอย่าง พยัญชนะแถวที่ ๑ พยัญชนะแถวที่ ๑ , ๒ อุกกาบาต , สักกะ , ทุกข์ , มัจฉา พยัญชนะแถวที่ ๓ พยัญชนะแถวที่ ๓ , ๔ อัคคี , พยัคฆ์ , วัชชี , มัชฌิม พยัญชนะแถวที่ ๕ พยัญชนะแถวที่ ๑ , ๒ , ๓ , ๔ , ๕ สัมปทาน , สัมผัส , พิมพ์ ,คัมภีร์ ,สัมมนา

๒. พยัญชนะวรรค ฏะ นิยมตัดตัวสะกดเดิม แล้วใช้ตัวสะกดตามแทน เช่น ๒. พยัญชนะวรรค ฏะ นิยมตัดตัวสะกดเดิม แล้วใช้ตัวสะกดตามแทน เช่น รัฏฐ์ เขียนเป็น รัฐ ทิฏฐิ ทิฐิ วัฑฒน์ วัฒน์ วุฑฒิ วุฒิ อัฏฐิ อัฐิ อัฑฒจันทร์ อัฒจันทร์

ตัวสะกดและตัวตามที่เป็นพยัญชนะเดียวกัน บางทีก็ตัดเสียตัวหนึ่ง เช่น ตัวสะกดและตัวตามที่เป็นพยัญชนะเดียวกัน บางทีก็ตัดเสียตัวหนึ่ง เช่น เขตต์ เขียนเป็น เขต จิตต์ จิต บุญญ์ บุญ นิสสัย นิสัย ยุตติ ยุติ วิชชา วิชา

๔. นิยมใช้ ฬ เช่น กีฬา , จุฬา , โอฬาร , อาสาฬหบูชา อัญญประกาศ เขียนเป็น อัญประกาศ อิสสระ อิสระ อนุสสรณ์ อนุสรณ์ ๔. นิยมใช้ ฬ เช่น กีฬา , จุฬา , โอฬาร , อาสาฬหบูชา ๕. ไม่มี ศ , ษ ๖. ไม่มี ฤ , ฤา , ไอ , เอา ๗. ไม่มี รร ( หัน ) ๘. ไม่นิยมคำควบกล้ำ

๙. มีสระ ๘ ตัว ได้แก่ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ สังเกตจากการใช้ “ ริ ” เช่น อริยะ, ภริยา, จริยา, อัจฉริยะ ,อิสริยะ ๑๑. สังเกตจาก

หลักสังเกตเฉพาะคำสันสกฤต มีสระ ๑๔ ตัว ได้แก่ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา ใช้ ร และ รร หัน เช่น อารยะ , กรรม , สวรรค์ , ภรรยา ,จรรยา , หรรษา , อัศจรรย์ , ไอศวรรย์ สังเกตจากการใช้ ส , ศ , ษ “ส” ใช้นำหน้าพยัญชนะวรรค ตะ ( ต ถ ท ธ น ) เช่น พัสดุ สถาน อัสดง สถิต สถาปนา “ ศ , ษ” มีใช้เฉพาะ ภาษาสันสฤตเท่านั้น เช่น ศีรษะ , อภิเษก ๔. สังเกตจากการใช้ ฑ เช่น กรีฑา , ครุฑ , จุฑา ๕. สังเกตจากการใช้ ณ ตามหลัง ร เช่น พราหมณ์ , นารายณ์ , อรัณย์ , อรุณ , ปราณี

หลักสังเกตเฉพาะคำสันสกฤต ( ต่อ ) ๖. สังเกตจากการใช้ “ เคราะห์” (ครุห) เช่น วิเคราะห์ , สังเคราะห์ , อนุเคราะห์ ๗. ไม่มีหลักการสะกดตัวแน่นอน พยัญชนะตัวหนึ่งสะกดพยัญชนะตัวใด ในวรรค จะ ตามก็ได้ หรือไม่มีตัวตามก็ได้ เช่น อัคนี , มัตสยา , อาชญา , สัปดาห์ , พนัส ๘. ใช้ ฤา ,ฤา ,ไอ ,เอา เช่น ฤทธิ์ , ฤาษี ,ไมตรี ,เสาร์ ๙. นิยมใช้คำควบกล้ำ เช่น จักร, สมัคร, เพชร, มิตร, ยนตร์ สมุทร, อินทร์, ทรัพย์, สัตย์, อัศวะ, พิศวาส

แนวการเทียบคำบาลีสันสกฤต กัญญา กันยา กัป ( ป์ ) กัลป์ การุญ ( ญ์ ) การุณย์ กิตติ กีรติ , เกียรติ กีฬา กรีฑา ขณะ กษณะ ขัตติยะ กษัตริย์

บาลี สันสกฤต ขัย กษัย ขีระ กษีระ , เกษียร ครุฬ ครุฑ จักขุ จักษุ จุฬา จุฑา ฐาน สถาน ติณ ตฤณ

บาลี สันสกฤต ถาวร สถาวร , สถาพร ธัม ( ม์ ) ธรรม นักขัต ( ต์ ) นักษัตร นิจ ( จ์ ) นิตย์ บุคคล บุทคล บุญ ( ญ์ ) บุณย์ บุปผา บุษบา

บาลี สันสกฤต ปฐม ประถม ปัจจุบัน ปรัตยุบัน ปัจฉิม ปัศจิม ,ปรัศจิม ปัญญา ปรัชญา

บาลี สันสกฤต อริยะ อารยะ อัจฉริยะ อัศจรรย์ อัจฉรา อัปสร อัต (ต์) , อัตตา อาตมัน ,อาตมา รัตติ ราตรี